ทัสสนัตติกะ ปฏิจจวาร
[๕๗๗] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปตาตัพพธรรม
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม
ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
[๕๗๘] ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม
ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม
ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
[๕๗๙] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
*ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
*ตัพพธรรม ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนน-
*ภาวนายปหาตัพพธรรม ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ มหาภูตรูป ๒ อาศัย
มหาภูตรูป ๒ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย
[๕๘๐] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม
และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย
[๕๘๑] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม
และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย
[๕๘๒] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
[๕๘๓] ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
[๕๘๔] เนวทัสสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
*ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
*ธรรม ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ
[๕๘๕] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อธิปติปัจจัย มี ๓ นัย
ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติ-
*ปัจจัย มี ๓ นัย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
*ตัพพธรรม ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑
มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย
[๕๘๖] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย
เหมือนกับอารัมมณปัจจัย
[๕๘๗] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
สหชาตปัจจัย มี ๓ นัย
ภาวนาย ฯลฯ มี ๓ นัย
เนวทัสสเนน ฯลฯ
คือ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ๑ ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุ-
*สมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย
[๕๘๘] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑ นัย
ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๑ นัย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูต-
*รูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ พาหิรรูป ฯลฯ อาหาร-
*สมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒
อาศัยมหาภูตรูป ๒
[๕๘๙] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นิสสยปัจจัย
เหมือนกับเหตุปัจจัย
เพราะอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย
เพราะปุเรชาตปัจจัย มี ๓ นัย ปฏิสนธิไม่มี
เพราะอาเสวนปัจจัย วิปากปฏิสนธิไม่มี
เพราะกัมมปัจจัย อัชฌัตติกรูป และส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป
ทั้งหลายมีบริบูรณ์
[๕๙๐] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
*ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก
ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย
[๕๙๑] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อาหารปัจจัย
อัชฌัตติกมหาภูตรูป และอาหารสมุฏฐานรูปมีบริบูรณ์
เพราะอินทริยปัจจัย เหมือนกับกัมมปัจจัย
เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เหมือนกับเหตุปัจจัย
เพราะสัมปยุตตปัจจัย เหมือนกับอารัมมณปัจจัย
เพราะวิปปยุตตปัจจัย เหมือนกับวิปปยุตตปัจจัย ในกุสลัตติกะ
เพราะอัตถิปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย
เพราะนัตถิปัจจัย ฯลฯ เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
[๕๙๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓
ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
ในอนันตรปัจจัย มี " ๓
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓
ในสหชาตปัจจัย มี " ๙
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓
ในนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓
ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓
ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓
ในกัมมปัจจัย มี " ๙
ในวิปากปัจจัย มี " ๑
ในอาหารปัจจัย มีวาระ ๙
ในอินทริยปัจจัย มี " ๙
ในฌานปัจจัย มี " ๙
ในมัคคปัจจัย มี " ๙
ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓
ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙
ในอัตถิปัจจัย มี " ๙
ในนัตถิปัจจัย มี " ๓
ในวิคตปัจจัย มี " ๓
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
บทเหล่านี้ผู้มีปัญญาพึงนับอนุโลม
อนุโลม จบ
[๕๙๓] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
[๕๙๔] ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
[๕๙๕] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
*ตัพพธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
*ตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนน-
*ภาวนายปหาตัพพธรรม ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐาน-
*รูป ฯลฯ
ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ กฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย
[๕๙๖] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม
[๕๙๗] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม
[๕๙๘] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
*ตัพพธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
*ธรรม หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหาร-
*สมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๕๙๙] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย
[๖๐๐] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย
[๖๐๑] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะอธิปติปัจจัย
พึงทำให้บริบูรณ์ เหมือนกับเหตุปัจจัย
ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญ-
*ปัจจัย ไม่ใช่เพราะนิสสยปัจจัย ฯลฯ
[๖๐๒] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม
ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
*ตัพพธรรม
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนน-
*ภาวนายปหาตัพพธรรม ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป อาหาร-
*สมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และเนว-
*ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย
[๖๐๓] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะปัจฉาชาตปัจจัย ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
*ธรรม
[๖๐๔] ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพ-
*ธรรม
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐาน-
*รูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๖๐๕] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะวิปากปัจจัย เหมือนกับ ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย ฯลฯ ปฏิสนธิไม่มี
[๖๐๖] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
*ตัพพธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๖๐๗] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย
คือ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๑
ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย
[๖๐๘] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหคตด้วยปัญจวิญญาณ ขันธ์ ๒ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ
อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๖๐๙] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะมัคคปัจจัย
คือ เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ
อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๖๑๐] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น ไม่เพราะสัมปยุตตปัจจัย เหมือนกับ ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
[๖๑๑] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ
ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม พาหิรรูป
ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
[๖๑๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ
ไม่ใช่เพราะนัตถิปัจจัย ไม่ใช่เพราะวิคตปัจจัย เหมือนกับ ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
[๖๑๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๗
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๕
รู้แล้ว พึงนับ
ปัจจนียะ จบ
[๖๑๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย
มีวาระ ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕
ผู้มีปัญญา พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๖๑๕] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย
มีวาระ ๓
ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓
ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒
ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ผู้มีปัญญา พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
-----------------------------------------------------
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๔๒๕๓-๔๕๖๕ หน้าที่ ๑๘๑-๑๙๔.
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=41&A=4253&Z=4565&pagebreak=0
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=41&A=4253&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=8
ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=577
พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=41&A=3659
อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12719
The Pali Tipitaka in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=41&A=3659
The Pali Atthakatha in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12719
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑
http://84000.org/tipitaka/read/?index_41
อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :-
https://suttacentral.net/patthana1.9/en/narada
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]
