ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๘ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน
ปัญหาวาร
[๘๗๖] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ฯลฯ [๘๗๗] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๘๗๘] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ภาวนาย ฯลฯ มี ๓ นัย เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนาย- *ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๑ นัย [๘๗๙] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๘๘๐] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๘๘๑] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๘๘๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๘๘๓] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น วิจิกิจฉา เกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งทิฏฐิ เพราะปรารภทิฏฐินั้น ราคะที่เป็นทัสส- *เนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น วิจิกิจฉา เกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉา เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น วิจิกิจฉา เกิดขึ้น [๘๘๔] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้วที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่ ข่มแล้ว ฯลฯ ที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดย เจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ และโมหะ โดยอารัมมณปัจจัย [๘๘๕] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เกิดขึ้น [๘๘๖] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น อุทธัจจะ เกิดขึ้น โทมนัส ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะปรารภอุทธัจจะ อุทธัจจะ เกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โทมนัสที่เป็นภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น อุทธัจจะ เกิดขึ้น [๘๘๗] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น วิจิกิจฉา เกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะปรารภอุทธัจจะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น วิจิกิจฉา เกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น วิจิกิจฉา เกิดขึ้น [๘๘๘] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้วที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม กิเลส ที่ข่มแล้ว ฯลฯ ที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดย เจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคตญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ และโมหะ โดยอารัมมณปัจจัย [๘๘๙] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เกิดขึ้น [๘๙๐] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เกิดขึ้น [๘๙๑] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ พึงให้พิสดารเหมือนกับ ทัสสนัตติกะ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ และโมหะ โดยอารัมมณปัจจัย [๘๙๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ เหมือนกับ ทัสสนัตติกะ [๘๙๓] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ เหมือนกับ ทัสสนัตติกะ [๘๙๔] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ เพราะปรารภจักขุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เกิดขึ้น โสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย- *ปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เกิดขึ้น [๘๙๕] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนน- *นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เกิดขึ้น [๘๙๖] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น [๘๙๗] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ เกิดขึ้น [๘๙๘] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม ฯลฯ คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เกิดขึ้น [๘๙๙] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น [๙๐๐] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น [๙๐๑] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ เกิดขึ้น [๙๐๒] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม ฯลฯ คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เกิดขึ้น [๙๐๓] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม ฯลฯ คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เกิดขึ้น [๙๐๔] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอธิปติปัจจัย เหมือนกับทัสสนัตติกะ มีหัวข้อปัจจัย [๙๐๕] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย [๙๐๖] ทัสสเนนปาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ที่เกิด หลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย [๙๐๗] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลังๆ และโมหะ โดยอนันตรปัจจัย [๙๐๘] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย [๙๐๙] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดย อนันตรปัจจัย [๙๑๐] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลังๆ และโมหะ โดยอนันตรปัจจัย [๙๑๑] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ฯลฯ เนวสัญญานา- *สัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๙๑๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสส- *เนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๙๑๓] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย อุทธัจจะที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๙๑๔] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดหลังๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาที่เกิดหลังๆ และโมหะ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ โดยอนันตรปัจจัย [๙๑๕] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย อุทธัจจะที่เกิดหลังๆ และโมหะ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ โดยอนันตรปัจจัย [๙๑๖] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย [๙๑๗] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่โมหะที่ เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะเป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย [๙๑๘] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดก่อนๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดหลังๆ และโมหะ โดยอนันตรปัจจัย [๙๑๙] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอนันตรปัจจัย มี ๓ นัย มีบาลี [๙๒๐] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยสมนันตรปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับสหชาตปัจจัย ในปฏิจจวาร เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับสหชาตปัจจัย ในปฏิจจวาร เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับนิสสยวาร ในปัจจยวาร ที่ต่างกัน ไม่มี [๙๒๑] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่างคือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ- *เหตุกธรรมแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ บุคคลเข้าไปอาศัยโทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความ ปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม แก่ความปรารถนา โดย อุปนิสสยปัจจัย [๙๒๒] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ- *เหตุกธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๒๓] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๒๔] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๒๕] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรมแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่ เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม แก่โทสะ โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา โดย อุปนิสสยปัจจัย ฉันทราคะในภัณฑะของตน เป็นปัจจัยแก่ฉันทราคะในภัณฑะของผู้อื่น โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย ฉันทราคะในของที่ตนหวงแหน เป็นปัจจัยแก่ฉันทราคะในของที่คนอื่นหวงแหน โดย อุปนิสสยปัจจัย [๙๒๖] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมบัติให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ มานะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๒๗] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๒๘] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๒๙] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฤดู โภชนะ เสนาสนะ ฯลฯ โมหะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ โมหะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ผลสมาบัติ และโมหะ โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย [๙๓๐] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย เสนาสนะ ฯลฯ โมหะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๓๑] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ ก่อมานะ บุคคลเข้าไปอาศัยโมหะ ฯลฯ ก่อมานะ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๓๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย เสนาสนะ ฯลฯ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ โดย อุปนิสสยปัจจัย [๙๓๓] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๓๔] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๓๕] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ และโมหะ โดย อุปนิสสยปัจจัย [๙๓๖] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๓๗] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๓๘] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๓๙] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ผลสมาบัติ และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๔๐] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๔๑] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๙๔๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โสตะ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นหทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ ฟังเสียง ด้วยทิพพโสตธาตุ ฯลฯ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ โดยปุเรชาตปัจจัย [๙๔๓] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คืออารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่จักขุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งหทัย วัตถุ เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๙๔๔] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่ง หทัยวัตถุ เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น อุทธัจจะ เกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๙๔๕] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ เพราะปรารภหทัยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เกิดขึ้น ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และโมหะ โดยปุเรชาตปัจจัย [๙๔๖] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ เพราะปรารภหทัยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เกิดขึ้น ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ โดยปุเรชาตปัจจัย [๙๔๗] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๙๔๘] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๙๔๙] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๙๕๐] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๙๕๑] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๙๕๒] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๙๕๓] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ที่เกิด หลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๙๕๔] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลังๆ และโมหะ โดยอาเสวนปัจจัย [๙๕๕] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม พวกนี้ ๓ นัย เนวทัสสเนนนภาวนาย ฯลฯ ในอาเสวนมูลกะ วุฏฐานก็ดี อาวัชชนะก็ดี พึงทิ้งเสีย หัวข้อปัจจัย ๑๗ พึงใส่ให้เต็ม เหมือนกับอนันตรปัจจัย [๙๕๖] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๙๕๗] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๙๕๘] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๙๕๙] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๙๖๐] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่โมหะ และจิตตสมุฏฐาน- *รูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๙๖๑] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๙๖๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๙๖๓] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ทั้งปวัตติและปฏิสนธิ วิบากขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ [๙๖๔] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย [๙๖๕] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่โมหะ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย [๙๖๖] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย และโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย ภาวนาย ฯลฯ มี ๓ นัย เหมือนกับ ทัสสเนน [๙๖๗] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ [๙๖๘] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอินทริยปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับอาหารปัจจัย โมหะต้องนับเข้าด้วย ภาวนาย ฯลฯ มี ๓ นัย [๙๖๙] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายินทรีย์ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย เป็นปัจจัย โดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย พวกนี้พึงกระทำให้เป็น สเหตุกธรรม เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย เหมือนกับสัมปยุตตวาร ๑- ในปฏิจจวาร @๑. น่าจะเป็นสัมปยุตตปัจจัย [๙๗๐] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต เหมือนกับทัสสนัตติกะ [๙๗๑] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต เหมือนกับทัสสนัตติกะ [๙๗๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนน- *นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต เหมือนกับทัสสนัตติกะ ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน [๙๗๓] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม [๙๗๔] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนาย- ปหาตัพพเหตุกธรรม [๙๗๕] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และโมหะ โดยวิปปยุตตปัจจัย [๙๗๖] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย อุทธัจจะ และโมหะ โดยวิปปยุตตปัจจัย [๙๗๗] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๙๗๘] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะ เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๙๗๙] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ [๙๘๐] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่โมหะ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย [๙๘๑] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ นัย [๙๘๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนน- *ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ ปุเรชาต สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนน- *นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัย แก่กายนี้ รูปชีวิตนทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย [๙๘๓] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน- *ปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่จักขุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งหทัยวัตถุ เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอัตถิ- *ปัจจัย [๙๘๔] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักขุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอัตถิ- *ปัจจัย [๙๘๕] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่เพราะปรารภจักขุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ โมหะ เกิดขึ้น เพราะปรารภหทัยวัตถุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ โดยอัตถิปัจจัย [๙๘๖] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่เพราะปรารภจักขุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ เกิดขึ้น เพราะปรารภหทัยวัตถุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ โดยอัตถิปัจจัย [๙๘๗] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๙๘๘] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และมหาภูตรูป ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่โมหะ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ รูปชีวิตนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย [๙๘๙] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ และโมหะ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ โมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ และ โมหะ ฯลฯ [๙๙๐] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก- *ธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย ฯลฯ พึงแจกเป็นหัวข้อปัจจัย ๓ โดยนัยแห่งทัสสเนน พึง กำหนดเอาอุทธัจจะ เพราะ นัตถิปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย [๙๙๑] เหตุในปัจจัย มีวาระ ๑๑ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒๑ ในอธิปติปัจจัย มี " ๑๐ ในอนันตรปัจจัย มีวาระ ๑๗ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๑๗ ในสหชาตปัจจัย มี " ๑๗ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๑๑ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑๗ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๒๑ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๕ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๑๗ ในกัมมปัจจัย มี " ๗ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๗ ในอินทริยปัจจัย มี " ๗ ในฌานปัจจัย มี " ๗ ในมัคคปัจจัย มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๑๑ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย มี " ๑๗ ในนัตถิปัจจัย มี " ๑๗ ในวิคตปัจจัย มี " ๑๗ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๗
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๙๙๒] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๙๙๓] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๙๙๔] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาต ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๙๙๕] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๙๙๖] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๙๙๗] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุป- *นิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย [๙๙๘] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๙๙๙] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๐๐๐] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนน- *นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย [๑๐๐๑] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย [๑๐๐๒] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย [๑๐๐๓] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๐๐๔] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย โดยปุเรชาต- *ปัจจัย [๑๐๐๕] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย ในข้อนี้ สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย เจือปนกันมีอยู่ พึงกระทำตามในบาลี เพื่อ ที่จะนับ พึงใคร่ครวญแล้วจึงนับ [๑๐๐๖] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย แม้ในข้อนี้ เพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย ก็มีอยู่ แต่ในบาลีไม่มี เมื่อจะนับ พึงใคร่ครวญแล้วจึงนับ [๑๐๐๗] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดย อุปนิสสยปัจจัย ในข้อนี้ สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัยเจือปนด้วยปัจจัยใดมีอยู่ ปัจจัย นั้นก็ไม่พึงกระทำตามในบาลี [๑๐๐๘] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๐๐๙] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย แม้ในข้อนี้ สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัยเจือปนด้วยปัจจัยใดมีอยู่ [๑๐๑๐] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย แม้ในข้อนี้ อารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ก็มี [๑๐๑๑] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหา- *ตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๐๑๒] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ- *เหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย แม้ในข้อนี้ก็มี สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย หัวข้อปัจจัยนั้นใดที่ไม่ได้เขียนไว้ หัวข้อ ปัจจัยเหล่านั้นเมื่อนับในบาลี ย่อมไม่เสมอกันโดยพยัญชนะ หัวข้อปัจจัยที่ไม่ได้เขียนไว้ในบาลี เหล่านั้น จำนวนปรากฏแล้ว ถ้าเกิดสงสัย พึงพิจารณาดูในอัตถิปัจจัย ในอนุโลม [๑๐๑๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มีวาระ ๒๑
ทั้งหมด พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๐๑๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๑
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๐๑๕] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒๑ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๑ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๑ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๑ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑๗ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกัตติกะ ที่ ๙ จบ
-----------------------------------------------------

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๖๗๐๖-๗๕๓๐ หน้าที่ ๒๘๕-๓๒๐. https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=41&A=6706&Z=7530&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=41&A=6706&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7], [8], [9], [10], [11]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=17              ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=876              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=41&A=5599              The Pali Tipitaka in Roman :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=41&A=5599              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ https://84000.org/tipitaka/read/?index_41

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]