ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๘ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน
เสกขัตติกะ
ปฏิจจาร
[๑๑๗๓] เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๑๗๔] อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม อเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรมขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๑๗๕] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ขันธ์ ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๑๗๖] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๑๗๗] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกข- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเสกขธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๑๗๘] เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย เพราะ อารัมมณ- *ปัจจัย เพราะ อธิปติปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี เพราะ อนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สหชาตปัจจัย พึงกระทำ มหาภูตรูปทั้งหมด เพราะ อัญญมัญญปัจจัย เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย เพราะ ปุเรชาตปัจจัย เพราะ อาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๑๗๙] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะ อาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ขันธ์ ๒ ฯลฯ มี ๓ นัย พึงใส่ให้เต็ม [๑๑๘๐] อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ เพราะวิปากปัจจัย คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม ฯลฯ มี ๓ นัย [๑๑๘๑] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะ วิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ซึ่ง เป็นวิบาก ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหา- *ภูตรูป ๑ ฯลฯ [๑๑๘๒] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะวิปากปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบากและมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๑๘๓] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกข- *ธรรม ฯลฯ เพราะวิปากปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเสกขธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๑๘๔] เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ เพราะอาหารปัจจัย เพราะ อินทริย- *ปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะ สัมปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตต- *ปัจจัย เพราะ อัตถิปัจจัย เพราะ นัตถิปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย [๑๑๘๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย มีวาระ ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๓ ในวิคตปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๑๘๖] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ซึ่ง เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ อาศัยมหาภูตรูป ๑ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวก อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ [๑๑๘๗] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม [๑๑๘๘] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม [๑๑๘๙] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่ เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ในปฏิสนธิ- *ขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๑๑๙๐] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๑๙๑] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกข- *ธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเสกขธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๑๙๒] เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะ อธิปติปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม ปฏิสนธิก็ดี มหาภูตรูปทั้งหลายก็ดี พึงกระทำทั้งหมด ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญ- *ปัจจัย ไม่ใช่เพราะอุปนิสสยปัจจัย ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย มี ๗ นัย เหมือนกับ กุสลัตติกะ ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ [๑๑๙๓] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิปาก ขันธ์ ๒ ฯลฯ เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะ อาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ขันธ์ ๒ ฯลฯ อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ มี ๓ นัย เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะเหตุ ปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ พึงใส่ให้เต็ม ฯลฯ เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ปัจจัยสงเคราะห์ พึงใส่ให้ เต็ม แม้ทั้ง ๒ อย่าง ก็พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๙ [๑๑๙๔] ฯลฯ ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะ กัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกข- *ธรรม พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ [๑๑๙๕] เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะ วิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม [๑๑๙๖] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่ เพราะวิปากปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม ปฏิสนธิไม่มี [๑๑๙๗] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๑๙๘] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่ เพราะอาหารปัจจัย ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย ไม่ใช่เพราะ มัคคปัจจัย เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะสัมปยุตตปัจจัย [๑๑๙๙] เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม ฯลฯ เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะ วิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสขธรรม ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหาร สมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะนัตถิปัจจัย ไม่ใช่เพราะวิคตปัจจัย [๑๒๐๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๕
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๒๐๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๒๐๒] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ ในนิสสยปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
สหชาตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๘๗๑๔-๘๙๓๙ หน้าที่ ๓๗๑-๓๘๐. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=41&A=8714&Z=8939&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=41&A=8714&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=22              ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1173              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=41&A=7174              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12732              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=41&A=7174              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12732              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_41              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/patthana1.12/en/narada

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]