หีนัตติกเหตุทุกะ
[๓๑๑] เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
เหตุธรรมที่เป็นปณีตธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นปณีตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
[๓๑๒] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓
ในอวิคตปัจจัย มี " ๓
[๓๑๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓
สหชาตวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาร
[๓๑๔] เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม
โดยเหตุปัจจัย
เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม
โดยเหตุปัจจัย
เหตุธรรมที่เป็นปณีตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปณีตธรรม
โดยเหตุปัจจัย
[๓๑๕] เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม
โดยอารัมมณปัจจัย
เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม
โดยอารัมมณปัจจัย
เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม
โดยอารัมมณปัจจัย
เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม โดย
อารัมมณปัจจัย
เหตุธรรมที่เป็นปณีตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม
โดยอารัมมณปัจจัย
[๓๑๖] เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม
โดยอธิปติปัจจัย
เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม
โดยอธิปติปัจจัย
เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม
โดยอธิปติปัจจัย
เหตุธรรมที่เป็นปณีตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปณีตธรรม โดย
อธิปติปัจจัย มี ๒ นัย
[๓๑๗] เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม
โดยอนันตรปัจจัย มี ๒ นัย
เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม
โดยอนันตรปัจจัย มี ๒ นัย
เหตุธรรมที่เป็นปณีตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปณีตธรรม โดย
อนันตรปัจจัย มี ๒ นัย
[๓๑๘] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๕
ในอธิปติปัจจัย มี " ๕
ในอนันตรปัจจัย มี " ๖
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๖
ในสหชาตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓
ในนิสสยปัจจัย มี " ๓
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๘
ในอวิคตปัจจัย มี " ๓
[๓๑๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙
[๓๒๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อ
ปัจจัย ๓
[๓๒๑] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย ที่มีหัวข้อ
ปัจจัย ๕
แม้ปัญหาวารในกุสลัตติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น
[๓๒๒] นเหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
สังกิลิฏฐัตติกเหตุทุกฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น
หีนัตติกเหตุทุกะ จบ
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๔ บรรทัดที่ ๑๑๙๙๔-๑๒๐๖๑ หน้าที่ ๕๐๐-๕๐๓.
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=44&A=11994&Z=12061&pagebreak=0
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=44&A=11994&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=44&siri=143
ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44&i=2222
พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=44&A=7950
The Pali Tipitaka in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=44&A=7950
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔
http://84000.org/tipitaka/read/?index_44
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com
