สัปปัจจยทุกเหตุทุกนสัปปัจจยทุกนเหตุทุกะ
[๑๐๔๘] นเหตุธรรมที่ไม่ใช่อัปปัจจยธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นสัปปัจจยธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
[๑๐๔๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
[๑๐๕๐] ธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม ที่ไม่ใช่อัปปัจจยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น
สัปปัจจยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
[๑๐๕๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
สังขตทุกะก็เหมือนกับสัปปัจจยทุกะ
สนิทัสสนทุกเหตุทุกนสนิทัสสนทุกนเหตุทุกะ
[๑๐๕๒] นเหตุธรรมที่ไม่ใช่อนิทัสสนธรรม อาศัยเหตุธรรม ที่เป็นอนิทัสสนธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
[๑๐๕๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
[๑๐๕๔] ธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม ที่ไม่ใช่สนิทัสสนธรรม อาศัยนเหตุธรรม ที่เป็น
อนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
[๑๐๕๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
สัปปฏิฆทุกเหตุทุกนสัปปฏิฆทุกนเหตุทุกะ
[๑๐๕๖] นเหตุธรรมที่ไม่ใช่อัปปฏิฆธรรม อาศัยเหตุธรรม ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
[๑๐๕๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
[๑๐๕๘] ธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม ที่ไม่ใช่สัปปฏิฆธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น
อัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
[๑๐๕๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
รูปีทุกเหตุทุกนรูปีทุกนเหตุทุกะ
[๑๐๖๐] นเหตุธรรมที่ไม่ใช่อรูปีธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอรูปีธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
[๑๐๖๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
[๑๐๖๒] ธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม ที่ไม่ใช่รูปีธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นรูปีธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม ที่ไม่ใช่อรูปีธรรม อาศัยนเหตุธรรม ที่เป็นอรูปีธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
[๑๐๖๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
โลกิยทุกเหตุทุกนโลกิยทุกนเหตุทุกะ
[๑๐๖๔] นเหตุธรรมที่ไม่ใช่โลกุตตรธรรม อาศัยเหตุธรรม ที่เป็นโลกิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
นเหตุธรรมที่ไม่ใช่โลกุตตรธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นโลกุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๑๐๖๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๔
[๑๐๖๖] ธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม ที่ไม่ใช่โลกุตตรธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น
โลกิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
ธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม ที่ไม่ใช่โลกิยธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นโลกุตตรธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
[๑๐๖๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๒
เกนจิวิญเญยยทุกเหตุทุกนเกนจิวิญเญยยทุกนเหตุทุกะ
[๑๐๖๘] นเหตุธรรมที่ไม่ใช่เกนจิวิญเญยยธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นเกนจิวิญเญยย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
นเหตุธรรมที่ไม่ใช่เกนจินวิญเญยยธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
นเหตุธรรมที่ไม่ใช่เกนจิวิญเญยยธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม และ
เหตุธรรมที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๑๐๖๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙
[๑๐๗๐] ธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม ที่ไม่ใช่เกนจิวิญเญยยธรรม อาศัยนเหตุธรรม
ที่เป็นเกนจิวิญเญยยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
[๑๐๗๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙
อาสวทุกเหตุทุกโนอาสวทุกนเหตุทุกะ
[๑๐๗๒] นเหตุธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอาสวธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
นเหตุธรรมที่ไม่ใช่ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยเหตุธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
นเหตุธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอาสวธรรม และเหตุธรรมที่ไม่ใช่
อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
[๑๐๗๓] ในปัจจัยทั้งปวง มีวาระ ๕
[๑๐๗๔] ธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรมที่ไม่ใช่ธรรม ที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยนเหตุธรรม
ที่ไม่ใช่อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
[๑๐๗๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕
สาสวทุกเหตุทุกนสาสวทุกนเหตุทุกะ
[๑๐๗๖] นเหตุธรรมที่ไม่ใช่อนาสวธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นสาสวธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
นเหตุธรรมที่ไม่ใช่อนาสวธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอนาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๑๐๗๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๔
เหมือนโลกิยทุกะ
อาสวสัมปยุตตทุกเหตุทุกนอาสวสัมปยุตตทุกนเหตุทุกะ
[๑๐๗๘] นเหตุธรรมที่ไม่ใช่อาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
นเหตุธรรมที่ไม่ใช่อาสววิปปยุตตธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอาสววิปปยุตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
นเหตุธรรมที่ไม่ใช่อาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม และ
เหตุธรรมที่เป็นอาสววิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๑๐๗๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙
[๑๐๘๐] ธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม ที่ไม่ใช่อาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็น
อาสวสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
ธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม ที่ไม่ใช่อาสวสัมปยุตตธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอาสว-
*วิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
[๑๐๘๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๔
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๕ บรรทัดที่ ๗๖๖๙-๗๗๕๒ หน้าที่ ๓๐๘-๓๑๑.
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=45&A=7669&Z=7752&pagebreak=0
http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=45&A=7669&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=45&siri=97
ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=45&i=1568
พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=45&A=6625
The Pali Tipitaka in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=45&A=6625
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕
http://84000.org/tipitaka/read/?index_45
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com
