ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ  พระวินัยปิฎก  พระสุตตันตปิฎก  พระอภิธรรมปิฎก  ค้นพระไตรปิฎก  ชาดก  หนังสือธรรมะ 
พระไตรปิฎก
 หน้า
 แสดง
หน้า
พระไตรปิฏกเล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๓ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค

หน้าที่ ๓๐๑.


                                                                 พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฎิกวรรค [๑๐. สังคีติสูตร]

                                                                 สังคีติหมวด ๕

คติ๑- (ภพที่สัตว์ไปเกิด) ๕ ๑. นิรยะ (นรก) ๒. ติรัจฉานโยนิ (กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน) ๓. เปตติวิสัย (แดนเปรต) ๔. มนุสสะ (มนุษย์) ๕. เทวะ (เทวดา)
มัจฉริยะ๒- (ความตระหนี่) ๕ ๑. อาวาสมัจฉริยะ (ความตระหนี่อาวาส) ๒. กุลมัจฉริยะ (ความตระหนี่ตระกูล) ๓. ลาภมัจฉริยะ (ความตระหนี่ลาภ) ๔. วัณณมัจฉริยะ (ความตระหนี่วรรณะ) ๕. ธัมมมัจฉริยะ (ความตระหนี่ธรรม)
นิวรณ์๓- (สิ่งที่ขัดขวางจิตไม่ให้บรรลุความดี) ๕ ๑. กามฉันทนิวรณ์ (นิวรณ์คือความพอใจในกาม) ๒. พยาบาทนิวรณ์ (นิวรณ์คือความคิดร้าย) ๓. ถีนมิทธนิวรณ์ (นิวรณ์คือความหดหู่และเซื่องซึม) ๔. อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ (นิวรณ์คือความฟุ้งซ่านและร้อนใจ) ๕. วิจิกิจฉานิวรณ์ (นิวรณ์คือความลังเลสงสัย) @เชิงอรรถ : @ ดูเทียบ องฺ.ปญฺจก. (แปล) ๒๒/๓๙/๔๙๐ @ ดูเทียบ อภิ.วิ. (แปล) ๓๕/๘๙๓/๕๖๑ @ ดูเทียบ องฺ.ติก. (แปล) ๒๐/๕๘/๒๒๓, อภิ.วิ. (แปล) ๓๕/๙๔๑/๕๙๕ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑๑ หน้า : ๓๐๑}

เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับ มจร. เล่มที่ ๑๑ หน้าที่ ๓๐๑. https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/read_page.php?book=11&page=301&pages=1&edition=mcu ศึกษาพระสูตร (เนื้อความ) นี้แยกตามสารบัญ :- https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_read.php?B=11&A=8550 https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_line.php?B=11&A=8550#p301 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ 11 :- https://84000.org/tipitaka/read/?index_11 https://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu11 https://84000.org/tipitaka/english/?index_11



จบการแสดงผล หน้าที่ ๓๐๑.

บันทึก ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]