บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
| |
ฉบับหลวง ฉบับมหาจุฬาฯ บาลีอักษรไทย PaliRoman |
ปฏิจจวาร [๓๕๘] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อุปาทินนธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. อุปาทินนธรรม และอนุทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูปอาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. [๓๕๙] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ จักขุวิญญาณอาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. [๓๖๐] อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม อาศัยหทัยวัตถุ. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.ฯลฯ [๓๖๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๔ ในอธิปติปัจจัย มี " ๓ ในอนันตรปัจจัย มี " ๔ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๔ ในสหชาตปัจจัย มี " ๕ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๔ ในนิสสยปัจจัย มี " ๕ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๔ ในปุเรชาตปัจจัย มีวาระ ๔ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๕ ในวิปากปัจจัย มี " ๕ ในอวิคตปัจจัย มี " ๕. [๓๖๒] อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณอาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทัยวัตถุ. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็น อเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐาน- *รูป ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และ มหาภูตรูปทั้งหลาย ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะ และหทัยวัตถุ. [๓๖๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๔. [๓๖๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ [๓๖๕] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๔ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕.นิสสยวาร เหมือนกับปัจจยวาร. เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ บรรทัดที่ ๕๗๗๘-๕๘๙๙ หน้าที่ ๒๒๖ - ๒๓๐. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=43&A=5778&Z=5899&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/sutta_item.php?item=362&book=43 อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=43&siri=41 อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_read.php?B=43&A=4250 อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_read.php?B=43&A=4250 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_43
บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]