ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
ผลการค้นหา คำว่า  “ เมตตาเจโตวิมุต ”  :-
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๘  พระวินัยปิฎกเล่มที่ ๘  ปริวาร
ผู้ด่าบริภาษต้องได้รับโทษ ๑๑ อย่าง.  เมื่อเมตตาเจโตวิมุติอันบุคคลเสพมาแต่แรก ให้เจริญแล้ว
เมื่อยังไม่บรรลุคุณวิเศษที่ยิ่งขึ้นไปย่อมเกิดในพรหมโลก ๑ เมื่อเมตตาเจโตวิมุติอันบุคคลเสพมา

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๙  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑  ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
ยากเลย ฉันใด กรรมที่ทำพอประมาณอันใดในเมตตาเจโตวิมุตติ ที่บุคคลอบรมแล้วอย่างนี้

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๑  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๓  ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
เมตตาเจโตวิมุตติเราให้เจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว กระทำให้เป็นดังยาน กระทำ
มิใช่โอกาส คำที่ว่า เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติ ภิกษุให้เจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว
มิใช่ฐานะที่จะมีได้ ผู้มีอายุทั้งหลาย เพราะว่าเมตตาเจโตวิมุตตินี้ เป็นที่สลัดออก

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๓  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๕  มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
รู้ชัดว่า แม้เมตตาเจโตวิมุตินี้ อันเหตุปัจจัยปรุงแต่งขึ้น ก่อสร้างขึ้น ก็สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันเหตุปัจจัย
เมตตาเจโตวิมุติอันภิกษุนั้นเจริญแล้วอย่างนี้ กรรมใดเป็นกามาพจรที่ภิกษุทำแล้ว กรรมนั้นจักไม่
คนรู้ได้ตลอดทิศทั้งสี่โดยไม่ยาก ฉันใด เมื่อเมตตาเจโตวิมุติที่ภิกษุนั้นเจริญแล้วอย่างนี้ ก็ฉันนั้น

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๘  สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
พวกโจรปล้นได้ง่าย แม้ฉันใด ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งไม่เจริญเมตตาเจโตวิมุติ ไม่
เมตตาเจโตวิมุติ กระทำให้มากแล้ว ภิกษุรูปนั้นย่อมเป็นผู้อันอมนุษย์กำจัดได้ยาก
เพราะเหตุดังนี้นั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราจักเจริญเมตตาเจโตวิมุติ
เมตตาเจโตวิมุติ กระทำให้มาก กระทำให้เป็นประดุจยาน กระทำให้เป็นที่ตั้ง
	[๖๖๙] พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง เจริญเมตตา-
*เจโตวิมุติ กระทำให้มาก กระทำให้เป็นประดุจยาน กระทำให้เป็นที่ตั้งอาศัย
เหมือนกัน เพราะเหตุดังนี้นั้น เธอทั้งหลายพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราจักเจริญเมตตา
เจโตวิมุติ กระทำให้มาก กระทำให้เป็นประดุจยาน กระทำให้เป็นที่ตั้งอาศัย ให้

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๘  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๐  สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
อันใด ในเมตตาเจโตวิมุติอันบุคคลอบรมแล้ว ทำให้มากแล้วอย่างนี้ กรรมนั้น

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๙  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๑  สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
เมตตาเจโตวิมุติ มีอะไรเป็นคติ
อย่างนี้ ควรเป็นผู้อันเธอทั้งหลายพึงถามอย่างนี้ว่า ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ก็เมตตาเจโตวิมุติ [๕๙๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เมตตาเจโตวิมุติ อันบุคคลเจริญแล้วอย่างไร มีอะไร เธอย่อมเข้าถึงสุภวิโมกข์อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวเมตตาเจโตวิมุติว่า มีสุภวิโมกข์เป็น
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๐  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๒  อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
ย่อมละได้ เหมือนเมตตาเจโตวิมุติ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อบุคคลใส่ใจเมตตา
มือ  ... เจริญตติยฌาน  ... เจริญจตุตถฌาน  ... เจริญเมตตาเจโตวิมุติ  ... เจริญ
ว่า เมตตาเจโตวิมุติ เมื่อบุคคลนั้นทำไว้ในใจโดยแยบคายถึงเมตตาเจโตวิมุติ

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๒  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๔  อังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
๖ ประการเป็นไฉน คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พึงกล่าวอย่างนี้ว่า เมตตาเจโตวิมุติ
พึงตรัสอย่างนี้ ดูกรอาวุโส ข้อนั้นมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส คือ เมื่อเมตตา-
*เจโตวิมุติ อันภิกษุเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้เป็นที่ตั้ง
อยู่ เพราะฉะนั้น ข้อนั้นจึงไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ เพราะเมตตาเจโตวิมุตินี้ เป็น

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๓  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๕  อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
แล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อเมตตาเจโตวิมุติ อันบุคคล
ที่สูงขึ้นไปยังไม่ได้ ย่อมไปบังเกิดในพรหมโลก ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อเมตตา
เจโตวิมุติ อันบุคคลเสพแล้วโดยเอื้อเฟื้อ เจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว กระทำ
จิตได้ เมื่อนั้น เธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราจักเจริญ กระทำให้มากซึ่งเมตตา
เจโตวิมุติ ทำให้เป็นดุจยาน ทำให้เป็นที่ตั้ง ให้มั่นคง สั่งสม ปรารภดีแล้ว ดูกร

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๔  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๖  อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
เจริญเมตตาเจโตวิมุติไซร้ พึงทำบาปกรรมบ้างหรือ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า ไม่
	พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เมตตาเจโตวิมุตินี้ อันสตรีหรือบุรุษ พึงเจริญ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมตตาเจโตวิมุติ อันภิกษุผู้มีปัญญา ผู้ยังไม่แทงตลอดวิมุติ
	[๒๒๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อเมตตาเจโตวิมุติ อันบุคคลเสพแล้ว
เมตตาเจโตวิมุติ อันบุคคลเสพแล้ว เจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ทำให้เป็นดุจ
พิจารณาเห็นดังนี้ว่า แม้เมตตาเจโตวิมุตินี้แล ถูกปรุงแล้ว ถูกตบแต่งแล้ว
เมตตาเจโตวิมุติ ๑ กรุณาเจโตวิมุติ ๑ มุทิตาเจโตวิมุติ ๑ อุเบกขาเจโตวิมุติ ๑
เป็นไฉน คือ ปฐมฌาน ๑ ทุติยฌาน ๑ ตติยฌาน ๑ จตุตถฌาน ๑ เมตตา
เจโตวิมุติ ๑ กรุณาเจโตวิมุติ ๑ มุทิตาเจโตวิมุติ ๑ อุเบกขาเจโตวิมุติ ๑ อากาสา-

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗  ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
บุญญกิริยาวัตถุทั้งหมดนั้น ย่อมไม่ถึงเสี้ยวที่ ๑๖ แห่งเมตตาเจโตวิมุติ เมตตา

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๐  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๒  ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
แม้ด้วยตติยฌาน แม้ด้วยจตุตถฌาน อยู่ด้วยกรรมดี แม้ด้วยเมตตาเจโตวิมุติ แม้ด้วยกรุณา-
ตามอภิรมย์ด้วยเมตตาเจโตวิมุติบ้าง กรุณาเจโตวิมุติบ้าง มุทิตาเจโตวิมุติบ้าง อุเบกขาเจโตวิมุติ

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๑  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๓  ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
	[๙] เมตตาเจโตวิมุติ กรุณาเจโตวิมุติ มุทิตาเจโตวิมุติ อุเบกขาเจโตวิมุติ
จตุตถฌาน เมตตาเจโตวิมุติ กรุณาเจโตวิมุติ มุทิตาเจโตวิมุติ อุเปกขาเจโตวิมุติ
	[๕๗๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติ อันบุคคลเสพแล้ว
ทั้งหลาย เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติ อันบุคคลเสพแล้ว เจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว
	[๕๗๕] เมตตาเจโตวิมุตติแผ่ไปโดยไม่เจาะจงก็มี แผ่ไปโดยเจาะจงก็มี
แผ่ไปสู่ทิศทั้งหลายก็มี เมตตาเจโตวิมุตติแผ่ไปโดยไม่เจาะจงด้วยอาการเท่าไร
แผ่ไปโดยเจาะจงด้วยอาการเท่าไร แผ่ไปสู่ทิศทั้งหลายด้วยอาการเท่าไร เมตตา
เจโตวิมุตติแผ่ไปโดยไม่เจาะจงด้วยอาการ ๕ แผ่ไปโดยเจาะจงด้วยอาการ ๗
	เมตตาเจโตวิมุตติแผ่ไปโดยไม่เจาะจงด้วยอาการ ๕ เป็นไฉน
	เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปโดยไม่เจาะจงว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร
ไม่มีทุกข์ รักษาตนอยู่เป็นสุขเถิด เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปโดยไม่เจาะจงด้วย
	เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปโดยเจาะจงด้วยอาการ ๗ เป็นไฉน
	เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปโดยเจาะจงว่า ขอหญิงทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร
จงเป็นผู้ไม่มีเวร ไม่เบียดเบียนกัน ไม่มีทุกข์ รักษาตนอยู่เป็นสุขเถิด เมตตา
เจโตวิมุติแผ่ไปโดยเจาะจงด้วยอาการ ๗ นี้ ฯ
	[๕๗๖] เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปสู่ทิศทั้งหลายด้วยอาการ ๑๐ เป็นไฉน
	เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปสู่ทิศทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงในทิศบูรพาจงเป็น
รักษาตนอยู่เป็นสุขเถิด เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปสู่ทิศทั้งหลายด้วยอาการ ๑๐ นี้
เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปสู่สัตว์ทั้งปวงด้วยอาการ ๘ นี้ คือ ด้วยการเว้นความบีบคั้น
เมตตาด้วย เป็นเจโตวิมุติด้วย เพราะฉะนั้นจึงชื่อว่าเมตตาเจโตวิมุติ ฯ
จงเป็นผู้ไม่มีเวร มีความปลอดโปร่ง มีความสุขเถิด ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติ
ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ... ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยวิริยินทรีย์
เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสตินทรีย์ ผู้เจริญเมตตาตั้งจิตไว้ว่า
ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ... ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วย
ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยปัญญินทรีย์ อินทรีย์ ๕ ประการนี้
เป็นอาเสวนะของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมเสพเมตตาเจโตวิมุติด้วยอินทรีย์ ๕
ประการนี้ อินทรีย์ ๕ ประการนี้ เป็นภาวนาของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อม
เจริญเมตตาเจโตวิมุติด้วยอินทรีย์ ๕ ประการนี้ อินทรีย์ ๕ ประการนี้ เป็นพหุลี
กรรมของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลทำให้มากซึ่งเมตตาเจโตวิมุติด้วยอินทรีย์ ๕
ประการนี้ อินทรีย์ ๕ ประการนี้ เป็นอลังการของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อม
ประดับเมตตาเจโตวิมุติด้วยอินทรีย์ ๕ ประการนี้ อินทรีย์ ๕ ประการนี้ เป็นบริขาร
ของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมปรุงแต่งเมตตาเจโตวิมุติด้วยอินทรีย์ ๕ ประการนี้
อินทรีย์ ๕ ประการนี้ เป็นบริวารของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมห้อมล้อม
เมตตาเจโตวิมุติดีแล้วด้วยอินทรีย์ ๕ ประการนี้ อินทรีย์ ๕ ประการนี้ เป็นอาเสวนะ
ความเห็นว่า นี้ละเอียด ของเมตตาเจโตวิมุติ เมตตาเจโตวิมุติอันบุคคลทำให้
ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัทธาพละ ผู้เจริญเมตตาย่อมไม่
มีเวร ... ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยวิริยพละ ผู้เจริญเมตตา
ผู้ไม่มีเวร ... ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสติพละ ผู้เจริญเมตตา
ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสมาธิพละ ผู้เจริญเมตตาย่อม
ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยปัญญาพละ พละ ๕ ประการนี้ เป็น
อาเสวนะของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมเสพเมตตาเจโตวิมุติด้วยพละ ๕
ประการนี้ ... เมตตาเจโตวิมุติ อันบุคคลทำให้เป็นดังยาน ทำให้เป็นที่ตั้ง
มีความปลอดโปร่ง มีความสุขเถิด ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วย
ผู้ไม่มีเวร ฯลฯ ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยธรรมวิจยสัมโพชฌงค์
เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยวิริยสัมโพชฌงค์ ผู้เจริญเมตตาระงับความ
เร่าร้อนว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ฯลฯ ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอัน
ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ฯลฯ ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วย
ฯลฯ ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสมาธิสัมโพชฌงค์ ผู้เจริญ
จงมีความปลอดโปร่ง จงมีสุขเถิด ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วย
อุเบกขาสัมโพชฌงค์ โพชฌงค์ ๗ ประการนี้ เป็นอาเสวนะของเมตตาเจโตวิมุติ
บุคคลย่อมเสพเมตตาเจโตวิมุติด้วยโพชฌงค์ ๗ ประการนี้ ... เมตตาเจโตวิมุติ
มีความปลอดโปร่ง มีสุขเถิด ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมา-
เมตตาเจโตวิมุติ เป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมาสังกัปปะ ผู้เจริญเมตตาย่อมกำหนด
โดยชอบว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ... ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอัน
ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ... ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมา-
จงเป็นผู้ไม่มีเวร ... ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมาอาชีวะ
เวร ... ดังนี้ เมตตาเจโตวิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมาวายามะ ผู้เจริญเมตตา
ย่อมตั้งสติไว้โดยชอบว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร ... ดังนี้ เมตตาเจโต-
*วิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมาสติ ผู้เจริญเมตตาย่อมตั้งไว้โดยชอบว่า ขอสัตว์
ทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร มีความปลอดโปร่ง มีความสุขเถิด ดังนี้ เมตตาเจโต-
*วิมุติเป็นอันอบรมแล้วด้วยสัมมาสมาธิ องค์มรรค ๘ ประการนี้ เป็นอาเสวนะ
ของเจโตวิมุติ บุคคลย่อมเสพเมตตาเจโตวิมุติด้วยองค์มรรค ๘ ประการนี้
องค์มรรค ๘ ประการนี้ เป็นภาวนาของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมเจริญเมตตา-
ของเมตตาเจโตวิมุติ บุคคลย่อมทำให้มากซึ่งเมตตาเจโตวิมุติด้วย องค์มรรค ๘


บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]