ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๒ วิภังคปกรณ์
ปัญหาปุจฉกะ
[๕๐๒] สัมมัปปธาน ๔ คือ ๑. ภิกษุในศาสนานี้ ทำฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิตไว้ ทำความเพียร เพื่อป้องกันบาปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นมิให้เกิดขึ้น

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๙๑.

๒. ทำฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิตไว้ ทำความเพียร เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ๓. ทำฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิตไว้ ทำความเพียร เพื่อสร้างกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น ๔. ทำฉันทะให้เกิด พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิตไว้ ทำความเพียร เพื่อความดำรงอยู่ ความไม่สาบสูญ ความภิยโยยิ่ง ความไพบูลย์ ความเจริญ ความบริบูรณ์ แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว
ติกมาติกาปุจฉา ทุกมาติกาปุจฉา
บรรดาสัมมัปปธาน ๔ สัมมัปปธานไหน เป็นกุศล สัมมัปปธานไหน เป็นอกุศล สัมมัปปธานไหน เป็นอัพยากฤต ฯลฯ สัมมัปปธานไหน เป็นสรณะ สัมมัปปธานไหน เป็นอรณะ
ติกมาติกาวิสัชนา
[๕๐๓] สัมมัปปธาน ๔ เป็นกุศลอย่างเดียว สัมมัปปธาน ๔ เป็น สุขเวทนาสัมปยุตก็มี เป็นอทุกขมสุขเวทนาสัมปยุตก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็น วิปากธัมมธรรม สัมมัปปธาน ๔ เป็นอนุปาทินนานุปาทานิยะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นสวิตักกสวิจาระก็มี เป็น อวิตักกวิจารมัตตะก็มี เป็นอวิตักกาวิจาระก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นปีติสหคตะ ก็มี เป็นสุขสหคตะก็มี เป็นอุเปกขาสหคตะก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นเนว- *ทัสสนนภาวนาปหาตัพพะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพ- *เหตุกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอปจยคามี สัมมัปปธาน ๔ เป็นเสกขะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอัปปมาณะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอัปปมาณารัมมณะ

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๙๒.

สัมมัปปธาน ๔ เป็นปณีตะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นสัมมัตตนิยตะ สัมมัปปธาน ๔ ไม่เป็นมัคคารัมมณะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นมัคคเหตุกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็น มัคคาธิปติก็มี กล่าวไม่ได้ว่า เป็นมัคคาธิปติก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นอุปปันนะ ก็มี เป็นอนุปปันนะก็มี กล่าวไม่ได้ว่า เป็นอุปปาที สัมมัปปธาน ๔ เป็นอดีต ก็มี เป็นอนาคตก็มี เป็นปัจจุบันก็มี กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นอตีตารัมมณะ แม้ เป็นอนาคตารัมมณะ แม้เป็นปัจจุปปันนารัมมณะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอัชฌัตตะ ก็มี เป็นพหิทธาก็มี เป็นอัชฌัตตพหิทธาก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นพหิทธา- *รัมมณะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆะ
ทุกมาติกาวิสัชนา
๑. เหตุโคจฉกวิสัชนา
[๕๐๔] สัมมัปปธาน ๔ เป็นนเหตุ สัมมัปปธาน ๔ เป็นสเหตุกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นเหตุสัมปยุต กล่าวไม่ได้ว่า เป็นเหตุสเหตุกะ เป็นแต่ สเหตุกนเหตุ กล่าวไม่ได้ว่า เป็นเหตุเหตุสัมปยุต เป็นแต่เหตุสัมปยุตตนเหตุ และนเหตุสเหตุกะ
๒. จูฬันตรทุกวิสัชนา
สัมมัปปธาน ๔ เป็นสัปปัจจยะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นสังขตะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอนิทัสสนะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอัปปฏิฆะ สัมมัปป- *ธาน ๔ เป็นอรูป สัมมัปปธาน ๔ เป็นโลกุตตระ สัมมัปปธาน ๔ เป็น เกนจิวิญเญยยะ เป็นเกนจินวิญเญยยะ
๓. อาสวโคจฉกวิสัชนา
สัมมัปปธาน ๔ เป็นโนอาสวะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอนาสวะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอาสววิปปยุต กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นอาสวสาสวะ แม้เป็น สาสวโนอาสวะ สัมมัปปธาน ๔ กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นอาสวอาสวสัมปยุต แม้เป็นอาสวสัมปยุตตโนอาสวะ เป็นแต่อาสววิปปยุตตอนาสวะ

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๒๙๓.

๔,๕,๖,๗,๘,๙,๑๐. สัญโญชนโคจฉกาทิวิสัชนา
สัมมัปปธาน ๔ เป็นโนสัญโญชนะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็น โนคันถะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็นโนโอฆะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็น โนโยคะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็นโนนีวรณะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็น โนปรามาสะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็นสารัมมณะ สัมมัปปธาน ๔ เป็น โนจิตตะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นเจตสิกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตสัมปยุต สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตสังสัฏฐะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตสมุฏฐานะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตสหภู สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตานุปริวัตติ สัมมัปป- *ธาน ๔ เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏ- *ฐานสหภู สัมมัปปธาน ๔ เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติ สัมมัปปธาน ๔ เป็นพาหิระ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอุปาทา สัมมัปปธาน ๔ เป็นอนุปาทินนะ
๑๑, ๑๒, ๑๓. อุปาทานโคจฉกาทิวิสัชนา
สัมมัปปธาน ๔ เป็นนอุปาทานะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็น โนกิเลสะ ฯลฯ สัมมัปปธาน ๔ เป็นนทัสสนปหาตัพพะ สัมมัปปธาน ๔ เป็น นภาวนาปหาตัพพะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นนทัสสนปหาตัพพเหตุกะ สัมมัปป- *ธาน ๔ เป็นนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นสวิตักกะก็มี เป็น อวิตักกะก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นสวิจาระก็มี เป็นอวิจาระก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นสัปปีติกะก็มี เป็นอัปปีติกะก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นปีติสหคตะก็มี เป็น นปีติสหคตะก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นสุขสหคตะก็มี เป็นนสุขสหคตะก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นอุเปกขาสหคตะก็มี เป็นนอุเปกขาสหคตะก็มี สัมมัปปธาน ๔ เป็นนกามาวจร สัมมัปปธาน ๔ เป็นนรูปาวจร สัมมัปปธาน ๔ เป็น นอรูปาวจร สัมมัปปธาน ๔ เป็นอปริยาปันนะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นนิยยานิกะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นนิยตะ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอนุตตระ สัมมัปปธาน ๔ เป็นอรณะ ฉะนี้แล
ปัญหาปุจฉกะ จบ
สัมมัปปธานวิภังค์ จบบริบูรณ์

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ บรรทัดที่ ๖๗๓๕-๖๘๐๙ หน้าที่ ๒๙๐-๒๙๓. https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=35&A=6735&Z=6809&pagebreak=1              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=35&siri=33              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=35&i=502              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [502-504] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=35&item=502&items=3              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=54&A=7700              The Pali Tipitaka in Roman :- [502-504] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=35&item=502&items=3              The Pali Atthakatha in Roman :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=54&A=7700              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๕ https://84000.org/tipitaka/read/?index_35              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/vb8/en/thittila#pts-s427

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :