สัญโญชนสัญโญชนิยทุกะ
ปฏิจจวาร
[๔๘๒] ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนิยธรรม อาศัย
ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรมและสัญโญชนิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์
พึงผูกจักรนัย
ธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรมแต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เป็น
สัญโญชนธรรมและสัญโญชนิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยสัญโญชน-
*ธรรมทั้งหลาย
ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรมและสัญโญชนิยธรรม และธรรมที่เป็น
สัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม
และสัญโญชนิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกามราคสัญโญชน์
พึงผูกจักรนัย
ธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรม
ที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนิย-
*ธรรมแต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ ตลอดถึงมหาภูตรูป
ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม และสัญโญชนิยธรรม อาศัยธรรมที่เป็น
สัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัญโญชนธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนิยธรรม
แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม
ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรมและสัญโญชนิยธรรม และธรรมที่เป็น
สัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม
แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ สัญโญชนธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรมและสัญโญชนิยธรรม อาศัยธรรมที่เป็น
สัญโญชนธรรม และ สัญโญชนิยธรรม และ ธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม
แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ อาศัยกามราคสัญโญชน์ และ
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
พึงผูกจักรนัย
ธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรม
ที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรมและสัญโญชนิยธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม
แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนิย-
*ธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม และสัญโญชนธรรมทั้งหลาย ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ธรรมที่เป็นสัญโญชนธรรมและสัญโญชนิยธรรม และธรรมที่เป็น
สัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งสัญโญชนธรรม
และสัญโญชนิยธรรม และธรรมที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชน-
*ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ทิฏฐิสัญโญชน์ อวิชชาสัญโญชน์ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนิยธรรม แต่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม และกามราค
สัญโญชน์ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พึงผูกจักรนัย
เหมือนปฐมทุกะในสัญโญชนโคจฉกะ ทุกะแม้นี้พึงให้พิสดารอย่างนั้น
ไม่มีแตกต่างกัน เว้นโลกุตตระ
สัญโญชนสัญโญชนิยทุกะ จบ
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๒ บรรทัดที่ ๘๗๙๑-๘๘๔๑ หน้าที่ ๓๕๙-๓๖๑.
https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=42&A=8791&Z=8841&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=42&siri=59
ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :-
https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=482
ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
[482] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=42&item=482&items=1
The Pali Tipitaka in Roman :-
[482] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=42&item=482&items=1
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒
https://84000.org/tipitaka/read/?index_42
บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]