![]() |
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ |
![]() |
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๖ พระวินัยปิฎกเล่มที่ ๖ [ฉบับมหาจุฬาฯ] จุลวรรค ภาค ๑ จุลวรรค ภาค ๑![]()
![]()
๑. กัมมขันธกะ๑. ตัชชนียกรรม๒. ปาริวาสิกขันธกะเรื่องภิกษุนิสิตของพระปัณฑุกะและพระโลหิตกะ วิธีลงตัชชนียกรรมและกรรมวาจา อธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยตัชชนียกรรมที่ไม่ชอบธรรม ๑๒ หมวด ธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยตัชชนียกรรมที่ชอบธรรม ๑๒ หมวด [ฉบับหลวง] อรรถกถา อากังขมานฉักกะ ว่าด้วยสงฆ์มุ่งหวังจะลงตัชชนียกรรม ๖ หมวด อัฏฐารสวัตตะ ว่าด้วยวัตร ๑๘ ข้อในตัชชนียกรรม นัปปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ ว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์ไม่พึงระงับตัชชนียกรรม ปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ ว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์พึงระงับตัชชนียกรรม วิธีระงับตัชชนียกรรมและกรรมวาจา [ฉบับหลวง]นิยสกรรม ที่ ๒เรื่องภิกษุเสยยสกะ วิธีลงนิยสกรรมและกรรมวาจา อธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยนิยสกรรมที่ไม่ชอบธรรม ๑๒ หมวด ธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยนิยสกรรมที่ชอบธรรม ๑๒ หมวด [ฉบับหลวง] อรรถกถา อากังขมานฉักกะ ว่าด้วยสงฆ์มุ่งหวังจะลงนิยสกรรม ๖ หมวด อัฏฐารสวัตตะ ว่าด้วยวัตร ๑๘ ข้อในนิยสกรรม นัปปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ ว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์ไม่พึงระงับนิยสกรรม ปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ ว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์พึงระงับนิยสกรรม วิธีระงับนิยสกรรมและกรรมวาจา [ฉบับหลวง]๓. ปัพพาชนียกรรมเรื่องภิกษุชื่อว่าอัสสชิและปุนัพพสุกะ อุบาสกเล่าเรื่องให้ฟัง วิธีลงปัพพาชนียกรรมและกรรมวาจาลงปัพพาชนียกรรม อธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยปัพพาชนียกรรมที่ไม่ชอบธรรม ๑๒ หมวด ธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยปัพพาชนียกรรมที่ชอบธรรม ๑๒ หมวด [ฉบับหลวง] อรรถกถา อากังขมานจุททสกะ ว่าด้วยสงฆ์มุ่งหวังจะลงปัพพาชนียกรรม ๑๔ หมวด อัฏฐารสวัตตะ ว่าด้วยวัตร ๑๘ ข้อในปัพพาชนียกรรม นัปปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ ว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์ไม่พึงระงับปัพพาชนียกรรม ปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ ว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์พึงระงับปัพพาชนียกรรม วิธีระงับปัพพาชนียกรรมและกรรมวาจา [ฉบับหลวง]๔. ปฏิสารณียกรรมเรื่องพระสุธรรม พระสุธรรมวิวาทกับจิตตคหบดี วิธีลงปฏิสารณียกรรมและกรรมวาจา อธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยปฏิสารณียกรรมที่ไม่ชอบธรรม ๑๒ หมวด ธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยปฏิสารณียกรรมที่ชอบธรรม ๑๒ หมวด [ฉบับหลวง] อรรถกถา อากังขมานจตุกกะ ว่าด้วยสงฆ์มุ่งหวังจะลงปฏิสารณียกรรม ๔ หมวด อัฏฐารสวัตตะ ว่าด้วยวัตร ๑๘ ข้อในปฏิสารณียกรรม สงฆ์ลงปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุสุธรรม วิธีให้พระอนุทูตและกรรมวาจา วิธีขอขมาของภิกษุสุธรรม นัปปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ ว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์ไม่พึงระงับปฏิสารณียกรรม ปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ ว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์พึงระงับปฏิสารณียกรรม วิธีระงับปฏิสารณียกรรมและกรรมวาจา [ฉบับหลวง]๕. อุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติเรื่องภิกษุพระฉันนะ วิธีลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติและกรรมวาจา อธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติที่ไม่ชอบธรรม ๑๒ หมวด ธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยอุกเขปนียกรรมเพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติที่ชอบธรรม ๑๒ หมวด [ฉบับหลวง] อรรถกถา อากังขมานจตุกกะ ว่าด้วยสงฆ์มุ่งหวังจะลงปฏิสารณียกรรม ๔ หมวด อัฏฐารสวัตตะ ว่าด้วยวัตร ๑๘ ข้อในปฏิสารณียกรรม สงฆ์ลงปฏิสารณียกรรมแก่ภิกษุสุธรรม วิธีให้พระอนุทูตและกรรมวาจา วิธีขอขมาของภิกษุสุธรรม นัปปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ ว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์ไม่พึงระงับปฏิสารณียกรรม ปฏิปัสสัมเภตัพพอัฏฐารสกะ ว่าด้วยองค์ ๑๘ ของภิกษุที่สงฆ์พึงระงับปฏิสารณียกรรม วิธีระงับปฏิสารณียกรรมและกรรมวาจา [ฉบับหลวง]๖. อุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติ(แสดงอาบัติ)เรื่องภิกษุชื่อฉันนะ วิธีลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติและกรรมวาจา อธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติที่ไม่ชอบธรรม ๑๒ หมวด ธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติที่ชอบธรรม ๑๒ หมวด [ฉบับหลวง] อากังขมานฉักกะ ว่าด้วยสงฆ์มุ่งหวังจะลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติ ๖ หมวด เตจัตตาฬีสวัตตะ ว่าด้วยวัตร ๔๓ ข้อในอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติ สงฆ์ลงโทษและระงับกรรม นัปปฏิปัสสัมเภตัพพเตจัตตาฬีสกะ ว่าด้วยองค์ ๔๓ ของภิกษุที่สงฆ์ไม่พึงระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติ ปฏิปัสสัมเภตัพพเตจัตตาฬีสกะ ว่าด้วยองค์ ๔๓ ของภิกษุที่สงฆ์พึงระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติ วิธีระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่ทำคืนอาบัติและกรรมวาจา [ฉบับหลวง]๗. อุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาปเรื่องภิกษุอริฏฐะ วิธีลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาปและกรรมวาจา อธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาปที่ไม่ชอบธรรม ๑๒ หมวด ธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาปที่ชอบธรรม ๑๒ หมวด [ฉบับหลวง] อากังขมานฉักกะ ว่าด้วยสงฆ์มุ่งหวังจะลงอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาป ๖ หมวด เตจัตตาฬีสวัตตะ ว่าด้วยวัตร ๔๓ ข้อในอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาป สงฆ์ลงโทษและระงับกรรม นัปปฏิปัสสัมเภตัพพเตจัตตาฬีสกะ ว่าด้วยองค์ ๔๓ ของภิกษุที่สงฆ์ไม่พึงระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาป ปฏิปัสสัมเภตัพพเตจัตตาฬีสกะ ว่าด้วยองค์ ๔๓ ของภิกษุที่สงฆ์พึงระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาป วิธีระงับอุกเขปนียกรรมเพราะไม่สละทิฏฐิบาปและกรรมวาจา [ฉบับหลวง]รวมสาระสำคัญที่มีในกัมมขันธกะ [ฉบับหลวง]๑. ปาริวาสิกวัตตะ ว่าด้วยวัตรของภิกษุผู้อยู่ปริวาส๓. สมุจจยขันธกะ๑. ปาริวาสิกวัตตะ ว่าด้วยวัตรของภิกษุผู้อยู่ปริวาส วัตร ๙๔ ข้อของภิกษุผู้อยู่ปริวาส รัตติเฉท ว่าด้วยเหตุให้ขาดราตรี ๓ อย่าง ทรงอนุญาตให้เก็บปริวาส วิธีเก็บปริวาส ทรงอนุญาตให้สมาทานปริวาส วิธีสมาทานปริวาส [ฉบับหลวง] อรรถกถา๒. มูลายปฏิกัสสนารหวัตตะ ว่าด้วยวัตรของภิกษุผู้ควรแก่การชักเข้าหาอาบัติเดิม [ฉบับหลวง] ๓. มานัตตารหวัตตะ ว่าด้วยวัตรของภิกษุผู้ควรแก่มานัต ๔. มานัตตจาริกวัตตะ ว่าด้วยวัตรของภิกษุผู้ประพฤติมานัต๔. มานัตตจาริกวัตตะ ว่าด้วยวัตรของภิกษุผู้ประพฤติมานัต วัตร ๙๔ ข้อของภิกษุผู้ประพฤติมานัต รัตติเฉท ว่าด้วยเหตุให้ขาดราตรี ๔ อย่าง ทรงอนุญาตให้เก็บมานัต วิธีเก็บมานัต ทรงอนุญาตให้สมาทานมานัต วิธีสมาทานมานัต [ฉบับหลวง]๕. อัพภานารหวัตตะ ว่าด้วยวัตรของภิกษุผู้ควรแก่อัพภาน รวมเรื่องที่มีในปาริวาสิกขันธกะ [ฉบับหลวง]๑. สุกกวิสัฏฐิ ว่าด้วยวิธีการออกจากอาบัติที่ต้องเพราะทำน้ำอสุจิให้เคลื่อน๔. สมถขันธกะเรื่องพระอุทายี อัปปฏิจฉันนมานัตตะ ว่าด้วยมานัตเพื่ออาบัติที่ไม่ได้ปิดไว้และกรรมวาจา อัปปฏิจฉันนอัพภาน ว่าด้วยอัพภานสำหรับอาบัติที่ไม่ได้ปิดไว้ วิธีอัพภานและกรรมวาจา [ฉบับหลวง] อรรถกถาเอกาหปฏิจฉันนปริวาส ว่าด้วยปริวาสสำหรับอาบัติที่ปิดไว้วันเดียว วิธีให้ปริวาส และกรรมวาจา เอกาหปฏิจฉันนมานัตตะ ว่าด้วยมานัตสำหรับอาบัติที่ปิดไว้วันเดียว วิธีให้มานัต ๖ ราตรี และกรรมวาจา เอกาหปฏิจฉันนอัพภาน ว่าด้วยอัพภานสำหรับอาบัติปิดไว้วันเดียว วิธีอัพภานและกรรมวาจา ปัญจาหปฏิจฉันนปริวาส ว่าด้วยปริวาสสำหรับอาบัติปิดไว้ ๕ วัน วิธีให้ปริวาสและกรรมวาจา [ฉบับหลวง] สงฆ์ชักเข้าหาอาบัติเดิม เป็นต้นปาริวาสิกมูลายปฏิกัสสนา ว่าด้วยการชักภิกษุผู้อยู่ปริวาสเข้าหาอาบัติเดิม มานัตตารหมูลายปฏิกัสสนา ว่าด้วยการชักภิกษุผู้ควรแก่มานัตเข้าหาอาบัติเดิม [ฉบับหลวง]สงฆ์ให้มานัตเพื่ออาบัติ ๓ ตัว เป็นต้น กำลังประพฤติมานัตต้องอาบัติในระหว่างมานัตตจาริกมูลายปฏิกัสสนา ว่าด้วยการชักภิกษุผู้ประพฤติมานัตเข้าหาอาบัติเดิม วิธีชักเข้าหาอาบัติเดิม และกรรมวาจา วิธีให้มานัตและกรรมวาจา [ฉบับหลวง]สงฆ์ให้อัพภานอัพภานารหมูลายปฏิกัสสนา ว่าด้วยการชักภิกษุผู้ควรแก่อัพภานเข้าหาอาบัติเดิม มูลายปฏิกัสสิตอัพภาน ว่าด้วยอัพภานภิกษุผู้ถูกชักเข้าหาอาบัติเดิม วิธีอัพภาน และกรรมวาจา [ฉบับหลวง]สงฆ์ให้ปักขปริวาส เป็นต้นปักขปฏิจฉันนปริวาส ว่าด้วยปริวาสสำหรับอาบัติที่ปิดไว้ ๑ ปักษ์ วิธีให้ปักขปริวาส และกรรมวาจา [ฉบับหลวง]สงฆ์ให้สโมธานปริวาส เป็นต้นปักขปริวาสิกมูลายปฏิกัสสนา ว่าด้วยการชักภิกษุผู้อยู่ปักขปริวาสเข้าหาอาบัติเดิม วิธีชักเข้าหาอาบัติเดิม และกรรมวาจา สโมธานปริวาส ว่าด้วยสโมธานปริวาสเพื่ออาบัติตัวก่อนและกรรมวาจา มานัตตารหมูลายปฏิกัสสนาทิ ว่าด้วยการชักภิกษุผู้ควรแก่มานัตเข้าหาอาบัติเดิมเป็นต้น [ฉบับหลวง] ติกาปัตติมานัตตะ ว่าด้วยมานัตเพื่ออาบัติ ๓ ตัว วิธีให้มานัตและกรรมวาจา มานัตตจาริกมูลายปฏิกัสสนาทิ ว่าด้วยการชักภิกษุผู้ประพฤติมานัตเข้าหาอาบัติเดิมเป็นต้น [ฉบับหลวง] อัพภานารหมูลายปฏิกัสสนาทิ ว่าด้วยการชักภิกษุผู้ควรแก่อัพภานเข้าหาอาบัติเดิมเป็นต้น ปักขปฏิจฉันนอัพภาน ว่าด้วยอัพภานสำหรับอาบัติที่ปิดไว้ ๑ ปักษ์และกรรมวาจา วิธีอัพภาน และกรรมวาจา [ฉบับหลวง]อัคฆสโมธานปริวาส เป็นต้นอัคฆสโมธานปริวาส, วิธีให้อัคฆสโมธานปริวาส คำขออัคฆสโมธานปริวาส, กรรมวาจาให้อัคฆสโมธานปริวาส [ฉบับหลวง]๒. ปริวาส ว่าด้วยการอยู่ชดใช้๒. ปริวาส ว่าด้วยการอยู่ชดใช้ อัคฆสโมธานปริวาส ว่าด้วยปริวาสประมวลค่าแห่งอาบัติ และกรรมวาจา สัพพจิรปฏิจฉันนอัคฆสโมธาน ว่าด้วยปริวาสประมวลค่าแห่งอาบัติที่ปิดไว้นานกว่าอาบัติทั้งหมดเข้าด้วยกัน [ฉบับหลวง]สงฆ์ได้ให้ปริวาส ๒ เดือน วิธีให้ปริวาสสำหรับเดือนนอกนี้และกรรมวาจา อยู่ปริวาส ๒ เดือน เพื่ออาบัติ ๒ ตัว ปิดไว้ ๒ เดือน ภิกษุผู้ควรแก่มานัตอยู่ปริวาส ๒ เดือน เพื่ออาบัติ ๒ ตัว ปิดไว้ ๒ เดือน [ฉบับหลวง] สงฆ์ให้สุทธันตปริวาส เป็นต้นสุทธันตปริวาส ปริวาสสำหรับอาบัติหลายตัว ปิดไว้หลายคราว วิธีให้สุทธันตปริวาสและกรรมวาจา วิธีให้สุทธันตปริวาส วิธีให้ปริวาส [ฉบับหลวง]๓. จัตตาฬีสกะ ว่าด้วยกรณีตัวอย่าง ๔๐ กรณีภิกษุอยู่ปริวาสสึก ภิกษุอยู่ปริวาสลดฐานะเป็นสามเณร ภิกษุอยู่ปริวาสวิกลจริต ภิกษุอยู่ปริวาสมีจิตฟุ้งซ่าน ภิกษุอยู่ปริวาสกระสับกระส่ายเพราะเวทนา ภิกษุอยู่ปริวาสถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรม เพราะไม่เห็นว่าเป็นอาบัติ ภิกษุอยู่ปริวาสถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรม เพราะไม่ทำคืนอาบัติ ภิกษุอยู่ปริวาสถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรม เพราะไม่สละทิฏฐิบาป ภิกษุควรแก่การชักเข้าหาอาบัติเดิมสึก [ฉบับหลวง]ควรมานัตสึก เป็นต้นภิกษุผู้ควรแก่มานัตสึก ภิกษุผู้ควรแก่มานัตลดฐานะเป็นสามเณรเป็นต้น ภิกษุผู้ประพฤติมานัตสึก ภิกษุผู้ประพฤติมานัตลดฐานะเป็นสามเณรเป็นต้น [ฉบับหลวง]ควรอัพภานสึก เป็นต้น ๔. ฉัตติงสกะ ว่าด้วยกรณีตัวอย่าง ๓๖ กรณีภิกษุกำลังอยู่ปริวาสต้องอาบัติสังฆาทิเสส ภิกษุผู้ควรแก่มานัตต้องอาบัติสังฆาทิเสส ภิกษุผู้ประพฤติมานัตต้องอาบัติสังฆาทิเสส ภิกษุผู้ควรแก่อัพภานต้องอาบัติสังฆาทิเสส [ฉบับหลวง]๕. มานัตตสตะ ว่าด้วยกรณีตัวอย่างการให้มานัต ๑๐๐ กรณี [ฉบับหลวง] ๖. สมูลายสโมธานปริวาสจตุสตะ ว่าด้วยสโมธานปริวาสกับการชักเข้าหาอาบัติเดิม ๔๐๐ กรณี ๗. ปริมาณาทิวารอัฏฐกะ ว่าด้วยวาระอาบัติมีจำนวนนับได้เป็นต้น ๘ กรณี [ฉบับหลวง] ๘. เทฺวภิกขุวารเอกาทสกะ ว่าด้วยวาระการให้มานัตแก่ภิกษุ ๒ รูป ๑๑ กรณี [ฉบับหลวง] ๙. มูลายอวิสุทธินวกะ ว่าด้วยความไม่หมดจดจากอาบัติเดิม ๙ กรณี ๑๐. มูลายวิสุทธินวกะ ว่าด้วยความหมดจดจากอาบัติเดิม ๙ กรณี [ฉบับหลวง] ๑๑. ตติยนวกะ ว่าด้วยความหมดจดจากอาบัติโดยขั้นตอนที่ ๓ รวม ๙ กรณี [ฉบับหลวง] รวมเรื่องที่มีในสมุจจยขันธกะ [ฉบับหลวง]๑. สัมมุขาวินัย ว่าด้วยระงับอธิกรณ์ในที่พร้อมหน้าเรื่องพระฉัพพัคคีย์ ธรรมวาทีและอธรรมวาที กัณหปักขนวกะ ว่าด้วยธรรมฝ่ายดำ ๙ อย่าง สัมมุขาวินัยปฏิรูป สุกกปักขนวกะ ว่าด้วยธรรมฝ่ายขาว ๙ อย่าง สัมมุขาวินัยโดยธรรม [ฉบับหลวง] อรรถกถา๒. สติวินัย ว่าด้วยระงับอธิกรณ์โดยประกาศสมมติให้ว่าเป็นผู้มีสติสมบูรณ์เรื่องพระทัพพมัลลบุตร แต่งตั้งเสนาสนปัญญาปกะและภัตตุทเทสกะ วิธีแต่งตั้งและกรรมวาจาแต่งตั้ง [ฉบับหลวง]เรื่องพระเมตติยะและพระภุมมชกะ เป็นต้นเรื่องพระเมตติยะและพระภุมมชกะ ภิกษุณีเมตติยาใส่ความพระทัพพมัลลบุตร วิธีให้สติวินัยและกรรมวาจา การให้สติวินัยที่ชอบธรรม ๕ อย่าง [ฉบับหลวง]๓. อมูฬหวินัย ว่าด้วยระงับอธิกรณ์โดยยกประโยชน์ให้ว่าต้องอาบัติในขณะเป็นบ้าเรื่องภิกษุชื่อคัคคะ วิธีให้อมูฬหวินัย และกรรมวาจา อมูฬหวินัยไม่ชอบธรรม ๓ กรณี อมูฬหวินัยชอบธรรม ๓ กรณี [ฉบับหลวง]๔. ปฏิญญาตกรณะ ว่าด้วยระงับอธิกรณ์ตามคำรับของจำเลย ๕. เยภุยยสิกา ว่าด้วยระงับอธิกรณ์ตามเสียงข้างมากเรื่องภิกษุหลายรูป วิธีแต่งตั้งและกรรมวาจา การจับสลากที่ไม่ชอบธรรม ๑๐ อย่าง การจับสลากที่ชอบธรรม ๑๐ อย่าง [ฉบับหลวง]๖. ตัสสปาปิยสิกา ว่าด้วยระงับอธิกรณ์โดยการลงโทษแก่ผู้ทำผิด อธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยตัสสปาปยสิกากรรมที่ไม่ชอบธรรม ๑๒ หมวด ธัมมกัมมทวาทสกะ ว่าด้วยตัสสปาปิยสิกากรรมที่ชอบธรรม ๑๒ หมวด อากังขมานฉักกะ ว่าด้วยสงฆ์มุ่งหวังที่จะลงตัสสปาปิยสิกากรรม ๖ หมวด อัฏฐารสวัตตะ ว่าด้วยวัตร ๑๘ ข้อในตัสสปาปิยสิกากรรม [ฉบับหลวง] ๗. ติณวัตถารกะ ว่าด้วยระงับอธิกรณ์โดยการประนีประนอมเรื่องภิกษุก่อความวุ่นวาย พุทธานุญาตให้ระงับอธิกรณ์ด้วยติณวัตถารกะ วิธีระงับอธิกรณ์ด้วยติณวัตถารกะ และกรรมวาจา [ฉบับหลวง]๘. อธิกรณะ ว่าด้วยอธิกรณ์ ๔ อย่างเรื่องภิกษุและภิกษุณีวิวาทกัน ๑. วิวาทาธิกรณ์ ๒. อนุวาทาธิกรณ์ ๓. อาปัตตาธิกรณ์ ๔. กิจจาธิกรณ์ วิวาทมูล ๖ อกุศลมูล ๓ กุศลมูล ๓ มูลแห่งอนุวาทาธิกรณ์ อนุวาทมูล ๖ กาย วาจา มูลแห่งอาปัตตาธิกรณ์ มูลแห่งกิจจาธิกรณ์ [ฉบับหลวง] [๒๒๐] วิวาทาธิกรณ์เป็นกุศล อกุศล หรืออัพยากฤต วิวาทาธิกรณ์เป็นกุศลก็มี ฯ วิวาทาธิกรณ์ อนุวาทาธิกรณ์ อาปัตตาธิกรณ์ ๙. อธิกรณวูปสมนสมถะ ว่าด้วยความสงบระงับอธิกรณ์ สัมมุขาวินัย วิวาทาธิกรณ์ระงับด้วยสมถะ ๒ อย่าง อุพพาหิกายวูปสมนะ ว่าด้วยการระงับอธิกรณ์ด้วยอุพพาหิกวิธี เยภุยยสิกาวินัย ติวิธสลากคาหะ ว่าด้วยการจับสลาก ๓ วิธี [ฉบับหลวง] สติวินัย อนุวาทาธิกรณ์ระงับด้วยสมถะ ๔ อย่าง วิธีให้สติวินัย และกรรมวาจา อมูฬหวินัย คำขออมูฬหวินัย และกรรมวาจา ตัสสปาปิยสิกาวินัย วิธีลงตัสสปาปิยสิกากรรมและกรรมวาจา ปฏิญญาตกรณะ อาปัตตาธิกรณ์ระงับด้วยสมถะ ๓ อย่าง ติณวัตถารกะ วิธีระงับอธิกรณ์ด้วยติณวัตถารกะและกรรมวาจา [ฉบับหลวง]----------------------------------------------------------------------------------------------------------
สารบัญ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๖ ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จบ
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ |
![]() |