บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
ฉบับภาษาไทย บาลีอักษรไทย บาลีอักษรโรมัน |
[๒๖๔] ปัญญาในความกำหนดรู้ เป็นทุกขญาณ ปัญญาในความละ เป็นสมุทยญาณ ปัญญาในความทำให้แจ้ง เป็นนิโรธญาณ ปัญญาในความเจริญ เป็นมรรคญาณ อย่างไร ฯ สภาพบีบคั้น สภาพเดือดร้อน สภาพปัจจัยปรุงแต่ง สภาพแปรปรวน สภาพที่ควรกำหนดรู้แห่งทุกข์ สภาพที่ประมวลมา สภาพเป็นเหตุ สภาพที่เกี่ยวข้อง สภาพพัวพัน สภาพที่ควรละแห่งสมุทัย สภาพที่สลัดออก สภาพที่สงัด สภาพอันปัจจัยไม่ปรุงแต่ง สภาพเป็นอมตะ สภาพที่ควรทำให้แจ้งแห่งนิโรธ สภาพที่นำออก สภาพที่เป็นเหตุ สภาพที่เห็น สภาพที่เป็นอธิบดี สภาพที่ควร เจริญแห่งมรรค ฯ--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๑๒๒.
ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถว่ารู้ชัด เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในความกำหนด เป็นทุกขญาณ ปัญญา ในความละ เป็นสมุทยญาณ ปัญญาในความทำให้แจ้ง เป็นนิโรธญาณ ปัญญา ในความเจริญเป็นมรรคญาณ ฯเนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๑ บรรทัดที่ ๒๙๗๐-๒๙๘๒ หน้าที่ ๑๒๑-๑๒๒. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=31&A=2970&Z=2982&pagebreak=1 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=31&item=264&items=1&pagebreak=1 อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=31&item=264&items=1&pagebreak=1&mode=bracket อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=31&item=264&items=1&pagebreak=1 อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=31&item=264&items=1&pagebreak=1 ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=31&i=264 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๑ https://84000.org/tipitaka/read/?index_31 https://84000.org/tipitaka/english/?index_31
บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]