[๑๑๐๘] บรรดาขันธ์ ๕ ขันธ์ไหน เป็นอภิญเญยยธรรม
ขันธ์ไหน เป็นปริญเญยยธรรม ขันธ์ไหน เป็นปหาตัพพธรรม ขันธ์
ไหน เป็นภาเวตัพพธรรม ขันธ์ไหน เป็นสัจฉิกาตัพพธรรม ขันธ์
ไหน ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม ขันธ์ไหน ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ขันธ์
ไหน ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม ฯลฯ บรรดาจิต ๗ จิตไหน เป็น
อภิญเญยยธรรม จิตไหน เป็นปริญเญยยธรรม จิตไหน เป็นปหา-
*ตัพพธรรม จิตไหน เป็นภาเวตัพพธรรม จิตไหน เป็นสัจฉิกาตัพพ-
*ธรรม จิตไหน ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม จิตไหน ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม
จิตไหน ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม
รูปขันธ์ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม
ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม
ขันธ์ ๔ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม เป็นปหาตัพพธรรม
ก็มี เป็นภาเวตัพพธรรมก็มี เป็นสัจฉิกาตัพพธรรมก็มี ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม
ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม ก็มี
อายตนะ ๑๐ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหา-
*ตัพพธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม อายตนะ ๒ เป็น
อภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม เป็นปหาตัพพธรรมก็มี เป็นภาเวตัพพธรรม
ก็มี เป็นสัจฉิกาตัพพธรรมก็มี ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่
สัจฉิกาตัพพธรรม ก็มี
ธาตุ ๑๖ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหาตัพพ-
*ธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม ธาตุ ๒ เป็นอภิญเญยย-
*ธรรม เป็นปริญเญยยธรรม เป็นปหาตัพพธรรม เป็นภาเวตัพพธรรมก็มี เป็น
สัจฉิกาตัพพธรรมก็มี ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกา-
*ตัพพธรรม ก็มี
สมุทยสัจ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม เป็นปหาตัพพธรรม
ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม มัคคสัจเป็นอภิญเญยยธรรม เป็น
ปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม เป็นภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพ-
*ธรรม นิโรธสัจ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม
เป็นภาเวตัพพธรรม เป็นสัจฉิกาตัพพธรรม ทุกขสัจ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็น
ปริญเญยยธรรม เป็นปหาตัพพธรรม ก็มี ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกา-
*ตัพพธรรม ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม ก็มี
อินทรีย์ ๙ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหาตัพพ-
*ธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม โทมนัสสินทรีย์ เป็น
อภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม เป็นปหาตัพพธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม
ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็น
ปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม เป็นภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม
อัญญินทรีย์ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม เป็น
ภาเวตัพพธรรมก็มี เป็นสัจฉิกาตัพพธรรมก็มี อัญญาตาวินทรีย์ เป็นอภิญเญยยธรรม
เป็นปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม เป็นสัจฉิกา-
*ตัพพธรรม อินทรีย์ ๓ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหา-
*ตัพพธรรม เป็นภาเวตัพพธรรมก็มี เป็นสัจฉิกาตัพพธรรมก็มี ไม่ใช่ภาเวตัพพ-
*ธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรมก็มี อินทรีย์ ๖ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญย-
*ธรรม เป็นปหาตัพพธรรมก็มี เป็นภาเวตัพพธรรมก็มี เป็นสัจฉิกาตัพพธรรมก็มี
ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม ก็มี
อกุศลเหตุ ๓ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม เป็นปหาตัพพ-
*ธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม
กุศลเหตุ ๓ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหาตัพพ-
*ธรรม เป็นภาเวตัพพธรรม มิใช่สัจฉิกาตัพพธรรมก็มี ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ก็มี
อัพยากตเหตุ ๓ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหา-
*ตัพพธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม เป็นสัจฉิกาตัพพธรรม ก็มี ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพ-
*ธรรม ก็มี
กพฬิงการาหาร เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหา-
*ตัพพธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม อาหาร ๓ เป็นอภิญ-
*เญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม เป็นปหาตัพพธรรมก็มี เป็นภาเวตัพพธรรมก็มี
เป็นสัจฉิกาตัพพธรรมก็มี ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่
สัจฉิกาตัพพธรรม ก็มี
ผัสสะ ๖ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหาตัพพ-
*ธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม มโนวิญญาณธาตุสัมผัส
เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม เป็นปหาตัพพธรรมก็มี เป็นภาเวตัพพ-
*ธรรมก็มี เป็นสัจฉิกาตัพพธรรมก็มี ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม
ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม ก็มี
เวทนา ๖ สัญญา ๖ เจตนา ๖ จิต ๖ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็น
ปริญเญยยธรรม ไม่ใช่ปหาตัพพธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพ-
*ธรรม มโนวิญญาณธาตุ เป็นอภิญเญยยธรรม เป็นปริญเญยยธรรม เป็นปหา-
*ตัพพธรรมก็มี เป็นภาเวตัพพธรรมก็มี เป็นสัจฉิกาตัพพธรรมก็มี ไม่ใช่ปหาตัพพ-
*ธรรม ไม่ใช่ภาเวตัพพธรรม ไม่ใช่สัจฉิกาตัพพธรรม ก็มี
อารัมมณวาร
เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๕ บรรทัดที่ ๑๔๖๕๖-๑๔๗๒๒ หน้าที่ ๖๒๘-๖๓๑.
https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=35&A=14656&Z=14722&pagebreak=0
https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=35&item=1108&items=1&mode=bracket
อ่านโดยใช้เนื้อความเป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :-
https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=35&item=1108&items=1
อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :-
https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=35&item=1108&items=1&mode=bracket
อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :-
https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=35&item=1108&items=1&mode=bracket
ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :-
https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=35&i=1108
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๕
https://84000.org/tipitaka/read/?index_35
https://84000.org/tipitaka/english/?index_35
บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]