ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
 ฉบับหลวง   บาลีอักษรไทย    PaliRoman 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๐ สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
             [๒๘๘] 	บุคคลใดคลายราคะ โทสะ และอวิชชาได้แล้ว บุคคล
                          นั้นชื่อว่าข้ามสมุทรนี้ ซึ่งมีทั้งสัตว์ร้าย มีทั้งผีเสื้อน้ำ มีทั้ง
                          คลื่นและภัย ที่ข้ามได้แสนยาก ได้แล้ว เรากล่าวว่า
                          บุคคลนั้นล่วงพ้นเครื่องข้อง ละมัจจุ ไม่มีอุปธิ ละทุกข์ได้
@๑. บาลีสูตรนี้ปรากฏเป็น กนฺตา กุลกชาตา กุลคุณฺฑิกชาตา มุญฺชปพฺพชภูตา อปายํ
@ทุคคตึ วินิปาตํ สํสารํ นาติวตฺตนฺติ" มีปัญหาว่าน่าจะวิปลาศทางอักขระในการ
@คัดลอก อรรถกถาของบาลีแห่งนี้ ไม่แก้ กล่าวไว้แต่เพียงว่า "ศัพท์ว่า กนฺตา
@กุลกชาตา เป็นต้น ให้พิสดารแล้วในหนหลัง" ได้สอบทานบาลีพระสูตรข้างต้น
@ดูตลอดแล้ว ปรากฏในมหานิทานสูตร ทีฆนิกาย มหาวรรค ข้อ ๕๗ ว่า "เอวมยํ ปชา
@ตนฺตากุลกชาตา คุณคณฺฐิกชาตา มุญฺชปพฺพชภูตา อปายํ ทุคฺคตึ วินิปาตํ สํสารํ นาติ-
@*วตฺตติ" ในสูตรนั้นแสดงนัยของมหาสมุทรเช่นกัน ฉบับแปลแปลไว้ว่า "หมู่สัตว์นี้จึง
@เกิดเป็นผู้ยุ่งประดุจด้ายของช่างหูก เกิดเป็นปมประหนึ่งกระจุกด้าย เป็นผู้เกิดมาเหมือน
@หญ้ามุงกระต่ายและหญ้าปล้อง ฯลฯ" ได้สอบทานอรรถกถามหานิทานสูตรแล้ว เห็น
@ว่าแปลตรงตามอรรถกถาทุกประการ เมื่อเป็นเช่นนี้ บาลีที่ว่า "กนฺตา กุลกชาตา
@กุลคุณฺฑิกชาตา" ต้องพลาดแน่ เพราะอรรถกถาแห่งสูตรนี้ ไม่แก้ แต่ยืนยันว่า
@มีพิสดารแล้วข้างต้น ซึ่งเมื่อค้นดูข้างต้นแล้วก็พบในมหานิทานสูตรนั้นเอง ฉบับแปล
@ของเดิมในสูตรนี้แปลศัพท์ไว้ จึงได้แก้แปลแบบเดียวกับมหานิทานสูตรข้างต้น โดย
@หลักฐานที่ค้นพบดังกล่าวแล้ว ฯ (คณะกรรมการตรวจชำระและสอบทานพิมพ์ครั้งที่ ๒)

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๑๙๓.

ขาดเพื่อไม่เกิดต่อไป ถึงความดับสูญ ไม่กลับมาเกิดอีก ลวงพระยามัจจุราชให้หลงได้ ฯ
จบสูตรที่ ๒


             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๘ บรรทัดที่ ๔๔๑๕-๔๔๓๕ หน้าที่ ๑๙๒-๑๙๓. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=18&A=4415&Z=4435&pagebreak=1 http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=18&item=288&items=1&pagebreak=1              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=18&item=288&items=1&pagebreak=1&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=18&item=288&items=1&pagebreak=1              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีอักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_item_s.php?book=18&item=288&items=1&pagebreak=1              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=18&i=288              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๘ http://84000.org/tipitaka/read/?index_18

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :