อุปาทินนัตติกะ
ปฏิจจวาร
[๑๔๑๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทา-
*นิยธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอุปาทิน-
*นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป
อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ
ปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
*นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
[๑๔๑๙] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑
ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น
[๑๔๒๐] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทา-
*นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
[๑๔๒๑] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และ
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น
[๑๔๒๒] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และ
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น
[๑๔๒๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิ-
*ขณะ ฯลฯ
อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มีวาระ ๓
[๑๔๒๔] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น
อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม มี ๓ นัย
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินน-
*อนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทาทินนอนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป
เกิดขึ้น
[๑๔๒๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ
คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น กฏัตตารูป ที่
เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น
อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น มี ๓ นัย
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ
สหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป
ทั้งหลาย เกิดขึ้น พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น มี ๓ นัย
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุ-
*ปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุ-
*ปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
[๑๔๒๖] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓
และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น
สำหรับอสัญญสัตว์ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ เกิดขึ้น
อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
คือ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
อาศัยอนุปาทาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
[๑๔๒๗] อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ เกิดขึ้น เพราะนิสสยปัจจัย
มี ๙ นัย
ฯลฯ เพราะอุปนิสสยปัจจัย
[๑๔๒๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะปุเรชาตปัจจัย มี ๓ นัย
[๑๔๒๙] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะอาเสวนปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะอาเสวนปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
[๑๔๓๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะกัมมปัจจัย มีวาระ ๙ เหมือนเหตุปัจจัย
[๑๔๓๑] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะวิปากปัจจัย มี ๓ นัย
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ
วิปากปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย
มหาภูตรูป เกิดขึ้น
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น มีวาระ ๙
[๑๔๓๒] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
เพราะอาหารปัจจัย ฯลฯ เพราะอินทริยปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย
เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย
เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาร แห่งกุสลัตติกะ ที่ให้พิสดารแล้วโดยวิธีสาธยาย
[๑๔๓๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓
ในอธิปติปัจจัย มี " ๕
ในอนันตรปัจจัย มี " ๕
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๕
ในสหชาตปัจจัย มี " ๙
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓
ในนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓
ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓
ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒
ในกัมมปัจจัย มี " ๙
ในวิปากปัจจัย มี " ๙
ในอาหารปัจจัย มี " ๙
ในอินทริยปัจจัย มี " ๙
ในฌานปัจจัย มี " ๙
ในมัคคปัจจัย มี " ๙
ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓
ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙
ในอัตถิปัจจัย มี " ๙
ในนัตถิปัจจัย มี " ๓
ในวิคตปัจจัย มี " ๓
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
ในอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
พึงนับเหมือนจำนวนปฏิจจวาร ในกุสลัตติกะ ที่นับไว้แล้วโดยวิธีสาธยาย
อนุโลม จบ
[๑๔๓๔] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓
อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น กฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น
อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทาทินนุปาทานิยธรรมซึ่งเป็นอเหตุกะ
เกิดขึ้น
อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
*นิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่ง
เป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
[๑๔๓๕] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย
มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป
อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป
๑ ฯลฯ อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น
[๑๔๓๖] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรมและ
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมซึ่งเป็นอเหตุกะและ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น
[๑๔๓๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป
๑ ฯลฯ
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินน-
*อนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมและมหาภูตรูป
เกิดขึ้น
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรมและอนุปาทินนุ-
*ปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น
[๑๔๓๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย
พึงกระทำปฏิสนธิให้บริบูรณ์ มีวาระ ๓
อาศัยธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น มีวาระ ๑
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปา-
*ทานิยธรรม เกิดขึ้น
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทิน
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น
[๑๔๓๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญ-
*ปัจจัย ไม่ใช่เพราะอุปนิสสยปัจจัย ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาต-
*ปัจจัย ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมซึ่งเป็นวิบาก
เกิดขึ้น ฯลฯ
[๑๔๔๐] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๑๔๔๑] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
ซึ่งเป็นกุศล เกิดขึ้น
[๑๔๔๒] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป
อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ฯลฯ
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะวิปากปัจจัย
มีวาระ ๑
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมซึ่งเป็นกุศล เกิดขึ้น
มีวาระ ๓
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และอนุปา-
*ทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นกุศล
และมหาภูตรูป เกิดขึ้น
[๑๔๔๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะอาหารปัจจัย
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะอาหารปัจจัย
พาหิรรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๑๔๔๔] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น
[๑๔๔๕] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย
พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๑๔๔๖] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะฌานปัจจัย
พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๑๔๔๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะมัคคปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น
มีวาระ ๕
[๑๔๔๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะสัมปยุตตปัจจัย
เหมือนกับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย
[๑๔๔๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
[๑๔๕๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะนัตถิปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะวิคตปัจจัย
พึงให้พิสดารเหมือนปัจจนียวาร ในกุสลัตติกะ ที่ให้พิสดารไว้แล้ว
[๑๔๕๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๖
" อธิปติปัจจัย มี " ๖
" อนันตรปัจจัย มี " ๖
" สมนันตรปัจจัย มี " ๖
" อัญญมัญญปัจจัย มี " ๖
" อุปนิสสยปัจจัย มี " ๖
" ปุเรชาตปัจจัย มี " ๗
" ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙
" อาเสวนปัจจัย มี " ๙
" กัมมปัจจัย มี " ๓
" วิปากปัจจัย มี " ๖
" อาหารปัจจัย มี " ๒
" อินทริยปัจจัย มี " ๒
" ฌานปัจจัย มี " ๒
ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มีวาระ ๕
" สัมปยุตตปัจจัย มี " ๖
" วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓
" นัตถิปัจจัย มี " ๖
" วิคตปัจจัย มี " ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ฯลฯ
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๔ พึงนับเหมือนจำนวนในกุสลัตติกะ
ปัจจนียะ จบ
[๑๔๕๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๖ ฯลฯ
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๖
พึงนับเหมือนจำนวนอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลัตติกะ
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๔๕๓] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ฯลฯ
ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๕
พึงนับเหมือนจำนวนปัจจนียานุโลม ในกุสลัตติกะ
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๐ บรรทัดที่ ๑๘๒๑๗-๑๘๕๑๘ หน้าที่ ๗๒๒-๗๓๔.
http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=18217&Z=18518&pagebreak=0
http://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=40&A=18217&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=171
ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1418
พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=40&A=8991
อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12689
The Pali Tipitaka in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=40&A=8991
The Pali Atthakatha in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12689
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐
http://84000.org/tipitaka/read/?index_40
อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :-
https://suttacentral.net/patthana1.5/en/narada
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]
