บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
ปัญหาวาร [๑๔๗๖] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป โดยเหตุปัจจัย [๑๔๗๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย [๑๔๗๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐาน รูป โดยเหตุปัจจัย [๑๔๗๙] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย [๑๔๘๐] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยเหตุ ปัจจัย [๑๔๘๑] อุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยเหตุ ปัจจัย [๑๔๘๒] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย [๑๔๘๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น มีราคะ เกิดขึ้น มีโทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุและขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนุ- *ปาทานิยะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น มีราคะ เกิดขึ้น มีโทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไป แล้ว ตทารัมมณจิต อันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น รูปายตนะที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ คันธายตนะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๔๘๔] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น มีราคะ เกิดขึ้น มีโทมนัส เกิดขึ้น บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ และขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ ปรารภโสตะเป็นต้นนั้น มีราคะ เกิดขึ้น มีโทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยทิพยจักษุรู้จิตของบุคคลผู้มีความ พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๔๘๕] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณา กุศลที่สั่งสมดีแล้วในกาลก่อน ออกจากฌาน แล้วพิจารณาฌาน พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน พิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณา กิเลสที่ข่มแล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน พิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น มีราคะ เกิดขึ้น มีโทมนัส เกิดขึ้น เห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียง ด้วยทิพยโสตธาตุ ผู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยเจโต- *ปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย อากิญ- *จัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดย อารัมมณปัจจัย [๑๔๘๖] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ ปรารภรูปเป็นต้นนั้น มีราคะ เกิดขึ้น มีโทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก โดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก โดยอารัมมณปัจจัย รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กาย วิญญาณ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๔๘๗] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล โดยอารัมมณปัจจัย [๑๔๘๘] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลาย ออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณา นิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะทั้งหลาย รู้จิตของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๔๘๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำจักษุให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น มีราคะ มีทิฏฐิ เกิดขึ้น บุคคลกระทำโสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียงกลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม หทยวัตถุ และขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น มีราคะ เกิดขึ้น มีทิฏฐิ เกิดขึ้น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอธิปติ ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม แล้วกระทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณากระทำกุศลที่สั่งสมไว้ดีแล้วในกาล ก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณาออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้วพิจารณา พระเสกขะทั้งหลายกระทำโคตรภู ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา กระทำ โวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา บุคคลกระทำรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน ยิ่ง เพราะกระทำรูปเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น มีราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย [๑๔๙๐] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทา- *นิยธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล โดยอธิปติ- *ปัจจัย ที่เป็น สหชาตธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยอธิปติปัจจัย [๑๔๙๑] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่ โวทาน โดยอธิปติปัจจัย ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย [๑๔๙๒] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย [๑๔๙๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น อุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ปัญจวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่มโนธาตุ ที่เป็นวิบาก โดยอนันตรปัจจัย มโนธาตุที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นวิบาก โดยอนันตรปัจจัย [๑๔๙๔] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ภวังคจิต เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต กิริยามโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบาก เป็น ปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุ โดยอนันตรปัจจัย [๑๔๙๕] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๔๙๖] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่เป็นอนุปาทิน- *นุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย [๑๔๙๗] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผล สมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตร ปัจจัย [๑๔๙๘] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็น ปัจจัยแก่ผล โดยอนันตรปัจจัย [๑๔๙๙] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยสมนันตร ปัจจัย เหมือนอนันตรปัจจัย [๑๕๐๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัย แก่มหาภูตรูป ๓ มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ มหาภูตรูปทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป โดยสหชาตปัจจัย สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ [๑๕๐๑] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาต- *ปัจจัย [๑๕๐๒] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน รูป โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย [๑๕๐๓] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต สมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดย สหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่อุปาทา- *รูป โดยสหชาตปัจจัย [๑๕๐๔] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย [๑๕๐๕] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดย สหชาตปัจจัย [๑๕๐๖] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดย สหชาตปัจจัย [๑๕๐๗] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ- *ฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย [๑๕๐๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย [๑๕๐๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดย อัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญ- *ปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ หทยวัตถุเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่ มหาภูตรูป ๒ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ [๑๕๑๐] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุ- *สมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ [๑๕๑๑] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ [๑๕๑๒] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สำหรับอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยนิสสยปัจจัย [๑๕๑๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยนิสสย ปัจจัย หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยนิสสยปัจจัย [๑๕๑๔] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยนิสสยปัจจัย [๑๕๑๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏ- *ฐานรูป โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยนิสสย ปัจจัย [๑๕๑๖] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม มีวาระ ๑ อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม มีวาระ ๓ [๑๕๑๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยนิสสยปัจจัย [๑๕๑๘] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏ- *ฐานรูป โดยนิสสยปัจจัย [๑๕๑๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยนิสสยปัจจัย [๑๕๒๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ สุขทางกาย เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย ทุกข์ทางกาย เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย อุตุ เป็นปัจจัยแก่ สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย โภชนะ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๕๒๑] อุปาทินนุปาทนิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกาย ให้ทาน สมาทานศีลทำอุโบสถ- *กรรม ยังฌานให้เกิด ยังวิปัสสนาให้เกิด ยังอภิญญาให้เกิด ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ทำ ลายสงฆ์ เข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ให้ทาน ทำลายสงฆ์ สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทา- *นิยธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๕๒๒] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกาย ยังมรรคให้เกิด เข้าผลสมาบัติ บุคคลอาศัยทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ยังมรรคให้เกิด เข้าผลสมาบัติ สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๕๒๓] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ให้ ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม ยังฌานให้เกิด ยังวิปัสสนาให้เกิด ยังอภิญญาให้เกิด ยัง สมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ทำลายสัตว์ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลอาศัยศีลที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา อุตุ โภชนะ เสนาสนะ ให้ทาน ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ทำลาย สงฆ์ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา อุตุ โภชนะ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุ- *ปาทานิยธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยเนวสัญญานาสัญญายตนะ ปาณาติบาต เป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาต นิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็น ปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ [๑๕๒๔] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ยัง ตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล บุคคลอาศัยศีลที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ เสนาสนะ ยังตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล ศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์ ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย กุศลกรรมและอกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๕๒๕] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค โดย อุปนิสสยปัจจัย บริกรรมแห่งทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค บริกรรมแห่งตติยมรรค เป็น ปัจจัยแก่ตติมรรค บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๕๒๖] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค มรรคเป็นปัจจัย แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๕๒๗] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสย ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ผลสมาบัติ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย [๑๕๒๘] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยะทั้งหลายอาศัยมรรค ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดแล้ว พิจารณาสังขารโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา มรรคเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ธัมมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณปฏิ- *สัมภิทา ความฉลาดในฐานะและอฐานะ ของพระอริยะทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๕๒๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปูเรชาต ได้แก่ พระเสกขะหรือปุถุชนพิจารณาเห็นจักษุ โดย ความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุ นั้น มีราคะเกิดขึ้น มีโทมนัสเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิต อันเป็นวิบาก เกิดขึ้น พระเสกขะหรือปุถุชนพิจารณา โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น มีราคะ เกิดขึ้น มีโทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก เกิดขึ้น รูปายตนะที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดย ปุเรชาตปัจจัย ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปุเรชาต ปัจจัย [๑๕๓๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ พระเสกขะหรือปุถุชนพิจารณาเห็นจักษุ โดย ความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุ นั้น มีราคะ เกิดขึ้น มีโทมนัส เกิดขึ้น พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น มีราคะ เกิดขึ้น มีโทมนัส เกิดขึ้น พระเสกขะหรือปุถุชน เห็นรูปที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยทิพพจักขุ ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทา- *นิยธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๕๓๑] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินน- *อนุปาทานิยธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๕๓๒] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาต ได้แก่บุคคลพิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น มีราคะ เกิดขึ้น มีโทมนัส เกิดขึ้น เห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยะด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพยโสตธาตุ [๑๕๓๓] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปุเรชาต มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาต ได้แก่บุคคลพิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น มีราคะ เกิดขึ้น มีโทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก เกิดขึ้น รูปายตนะที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๕๓๔] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต คือ รูปายตนะ และจักขายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุ- *วิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และกายายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย- *วิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย รูปายตนะ และหทยวัตถุที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๕๓๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต คือ รูปายตนะ และหทยวัตถุที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๕๓๖] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดย ปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทิน- *นุปาทานิยธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๕๓๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทิน- *นุปาทานิยธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๕๓๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทิน- *นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๕๓๙] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปา- *ทินนุปาทานิยธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๕๔๐] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปา- *ทินนุปาทานิยธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๕๔๑] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปา- *ทินนุปาทานิยธรรมและอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๕๔๒] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปา- *ทินนุปาทานิยธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๕๔๓] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๕๔๔] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็น อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๕๔๕] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โดยอาเสวนปัจจัย [๑๕๔๖] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอาเสวนปัจจัย [๑๕๔๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป โดยกัมมปัจจัย เจตนาเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ โดยกัมมปัจจัย [๑๕๔๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมม- *ปัจจัย อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทิน- *นุปาทานิยธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย [๑๕๔๙] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย [๑๕๕๐] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูป โดยกัมมปัจจัย [๑๕๕๑] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ กุศลเจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๑๕๕๒] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดย กัมมปัจจัย [๑๕๕๓] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย [๑๕๕๔] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย วิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ โดยวิปากปัจจัย [๑๕๕๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *รูป โดยวิปากปัจจัย [๑๕๕๖] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูป โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดย วิปากปัจจัย [๑๕๕๗] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย วิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยวิปากปัจจัย [๑๕๕๘] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูป โดยวิปากปัจจัย [๑๕๕๙] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยวิปากปัจจัย [๑๕๖๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยอาหาร ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ กฏัตตารูป โดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย [๑๕๖๑] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอาหาร- *ปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย [๑๕๖๒] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏ- *ฐานรูป โดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย [๑๕๖๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย [๑๕๖๔] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ กวฬิงการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็น อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย [๑๕๖๕] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ กวฬิงการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็น อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย [๑๕๖๖] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยอาหาร ปัจจัย [๑๕๖๗] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดย อาหารปัจจัย [๑๕๖๘] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูป โดยอาหารปัจจัย [๑๕๖๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ กวฬิงการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย [๑๕๗๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ กวฬิงการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย [๑๕๗๑] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ กวฬิงการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอาหารปัจจัย [๑๕๗๒] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยอินทริย- *ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ กฏัตตารูป โดยอินทริยปัจจัย จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ รูปชีวิติน- *ทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอินทริยปัจจัย [๑๕๗๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอินทริย- *ปัจจัย [๑๕๗๔] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทินนิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยอินทริยปัจจัย [๑๕๗๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดย อินทริยปัจจัย [๑๕๗๖] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดย อินทริยปัจจัย [๑๕๗๗] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดย อินทริยปัจจัย [๑๕๗๘] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูป โดยอินทริยปัจจัย [๑๕๗๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยฌานปัจจัย คือ องค์แห่งฌานที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดย ฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ องค์แห่งฌานที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ และกฏัตตารูป โดยฌานปัจจัย [๑๕๘๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยฌานปัจจัย คือ องค์แห่งฌานที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดย ฌานปัจจัย [๑๕๘๑] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยฌานปัจจัย คือ องค์แห่งฌานที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูป โดยฌานปัจจัย [๑๕๘๒] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยฌานปัจจัย คือ องค์แห่งฌานที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูป โดยฌานปัจจัย [๑๕๘๓] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยฌานปัจจัย คือ องค์แห่งฌานที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยฌานปัจจัย [๑๕๘๔] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยฌานปัจจัย คือ องค์แห่งฌานที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยฌานปัจจัย [๑๕๘๕] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยฌานปัจจัย คือ องค์แห่งฌานที่เป็นอนุปาทาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยฌานปัจจัย [๑๕๘๖] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดย มัคคปัจจัย คือ องค์แห่งมรรคที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดย มัคคปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๕๘๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยมัคคปัจจัย คือ องค์แห่งมรรคที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดย มัคคปัจจัย [๑๕๘๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยมัคคปัจจัย คือ องค์แห่งมรรคที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูป โดยมัคคปัจจัย [๑๕๘๙] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยมัคคปัจจัย คือ องค์แห่งมรรคที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูป โดยมัคคปัจจัย [๑๕๙๐] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยมัคคปัจจัย คือ องค์แห่งมรรคที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยมัคคปัจจัย [๑๕๙๑] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยมัคคปัจจัย คือ องค์แห่งมรรคที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยมัคคปัจจัย [๑๕๙๒] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยมัคคปัจจัย คือ องค์แห่งมรรคที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยมัคคปัจจัย [๑๕๙๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดย สัมปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๕๙๔] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยสัมปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตต- *ปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ [๑๕๙๕] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยสัมปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตต- *ปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ [๑๕๙๖] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอุปาทาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ โดย วิปปยุตตปัจจัย หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยวิปปยุตตปัจจัย หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๕๙๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๕๙๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินน- *อนุปาทานิยธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๕๙๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดย วิปปยุตตปัจจัย [๑๖๐๐] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๖๐๑] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๖๐๒] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดย วิปปยุตตปัจจัย [๑๖๐๓] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๖๐๔] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๖๐๕] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น- *ปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดย- *วิปปยุตตปัจจัย [๑๖๐๖] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่- *กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป โดยอัตถิปัจจัย สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ มหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักขุ โดยความเป็น- *ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุนั้น มีราคะ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น มีราคะ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น รูปายตนะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทา- *นิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๐๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ- *ฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักขุ โดยความเป็น- *ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุนั้น มีราคะ โทมนัส เกิดขึ้น พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาโสตะ ฆานะ ฯลฯ ชิวหา ฯลฯ กาย ฯลฯ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น มีราคะ โทมนัส เกิดขึ้น เห็นรูปอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วย- *ทิพพจักขุ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทา- *นิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๐๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมโดยอัตถิปัจจัย [๑๖๐๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทา- *นิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๑๐] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุทินนุปาทานิยธรรม โดย อัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ มหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ- *ฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป โดยอัตถิปัจจัย พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น มีราคะ โทมนัส เกิดขึ้น เห็นรูปที่เป็น- *อนุปาทินนุปาทานิยธรรมด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทิน- *นุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๑๑] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น มีราคะ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศล- *ดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็น- *ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทา- *นิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๑๒] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาต อาหาร ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทา- *นิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๑๓] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๑๔] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๑๕] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๑๖] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และกายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๑๗] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ และกายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และกายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดย อัตถิปัจจัย [๑๖๑๘] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมโดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดย อัตถิปัจจัย [๑๖๑๙] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และกาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และกาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และ อนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๒๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาต อินทริย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๒๑] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยอัตถิ ปัจจัย ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๒๒] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาต อาหาร ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และกวฬิงการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๒๓] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และกวฬิงการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๒๔] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาต อาหาร ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และกวฬิงการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา- *นิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๒๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ รูปายตนะและจักขายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และกายายตนะ ที่เป็น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย รูปายตนะ และหทยวัตถุ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ โผฏฐัพ- *พายตนะ และหทยวัตถุที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทา- *นิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และกวฬิงการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๒๖] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็น- *ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ รูปายตนะและหทยวัตถุ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะและหทยวัตถุ ที่เป็น- *อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และกวฬิงการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๒๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อาหาร ได้แก่ กวฬิงการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทิน- *นุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๒๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปา- *ทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น ปัจฉชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และกวฬิงการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย [๑๖๒๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดย นัตถิปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย วิคตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อวิคตปัจจัย ฯลฯ [๑๖๓๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๖ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ ในอนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑๑ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๗ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒ ในกัมมปัจจัย มี " ๘ ในวิปากปัจจัย มี " ๖ ในอาหารปัจจัย มี " ๑๒ ในอินทริยปัจจัย มี " ๗ ในฌานปัจจัย มี " ๗ ในมัคคปัจจัย มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๑๐ ในอัตถิปัจจัย มี " ๒๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๗ ในวิคตปัจจัย มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย มี " ๒๓ [๑๖๓๑] ในอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ การนับกุสลัตติกะ ได้นับแล้วโดยวิธีสาธยาย ฉันใด พึงนับฉันนั้น การนับในอุปาทินนัตติกะลึกซึ้งและสุขุมกว่าการนับกุสลัตติกะ ผู้มีปัญญา พึงนับ โดยทำอย่างนี้อนุโลม จบ [๑๖๓๒] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอาหาร ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย [๑๖๓๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดย อาหารปัจจัย [๑๖๓๔] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ [๑๖๓๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และ อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย [๑๖๓๖] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย [๑๖๓๗] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย [๑๖๓๘] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๖๓๙] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย [๑๖๔๐] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิย- *ธรรม โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๖๔๑] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๖๔๒] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสย- *ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๖๔๓] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต [๑๖๔๔] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต [๑๖๔๕] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิย- *ธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๖๔๖] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต [๑๖๔๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาต อินทริย [๑๖๔๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต [๑๖๔๙] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาต อาหาร [๑๖๕๐] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร [๑๖๕๑] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็น ปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม มี ๒ อย่าง คือ ปัจฉาชาต อาหาร [๑๖๕๒] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม มี ๔ อย่าง คือ ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย [๑๖๕๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร [๑๖๕๔] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย แก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม มีอย่างเดียว คือ อาหาร [๑๖๕๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุ- *ปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม มี ๓ อย่าง คือ ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย [๑๖๕๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๒๔ " อธิปติปัจจัย มี " ๒๔ " อนันตรปัจจัย มี " ๒๔ " สมนันตรปัจจัย มี " ๒๔ " สหชาตปัจจัย มี " ๒๐ " อัญญมัญญปัจจัย มี " ๒๐ " นิสสยปัจจัย มี " ๒๐ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มีวาระ ๒๓ " ปุเรชาตปัจจัย มี " ๒๓ " ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑๗ " อาเสวนปัจจัย มี " ๒๔ " กัมมปัจจัย มี " ๒๔ " วิปากปัจจัย มี " ๒๔ " อาหารปัจจัย มี " ๒๐ " อินทริยปัจจัย มี " ๒๒ " ฌานปัจจัย มี " ๒๔ " มัคคปัจจัย มี " ๒๔ " สัมปยุตตปัจจัย มี " ๒๐ " วิปปยุตตปัจจัย มี " ๑๔ " อัตถิปัจจัย มี " ๙ " นัตถิปัจจัย มี " ๒๔ " วิคตปัจจัย มี " ๒๔ " อวิคตปัจจัย มี " ๙ [๑๖๕๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒๔ ฯลฯ การนับปัจจนียะในกุสลัตติกะให้พิสดารแล้ว ฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้นปัจจนียะ จบ [๑๖๕๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับสหชาตปัจจัย กับนิสสยปัจจัย กับอัตถิปัจจัย กับอวิคตปัจจัย มีวาระ ๗ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ " อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ การนับอนุโลมปัจจนียะ จำแนกไว้แล้วในกุสลัตติกะ ฉันใด พึงนับฉันนั้นอนุโลมปัจจนียะ จบ [๑๖๕๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๖ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๕ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๑ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๙ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๘ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๒ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒๓ ฯลฯการนับปัจจนียานุโลม จำแจกไว้แล้ว ในกุสลัตติกะ ฉันใด พึงนับฉันนั้น อุปาทินนัตติกะ ที่ ๔ จบ เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๐ บรรทัดที่ ๑๘๘๒๓-๑๙๙๔๓ หน้าที่ ๗๔๗-๗๙๑. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=18823&Z=19943&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=40&A=18823&pagebreak=0 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7], [8], [9], [10], [11], [12], [13], [14], [15] อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=177 ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1476 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=40&A=10051 The Pali Tipitaka in Roman :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=40&A=10051 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ https://84000.org/tipitaka/read/?index_40
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]