สังกิลิฏฐัตติกะ
ปฏิจจวาร
[๑๖๖๐] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ
ปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น
สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม อาศัยสังกิลิฏฐ-
*สังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
[๑๖๖๑] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัย-
*ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูป ที่เป็น-
*อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น
[๑๖๖๒] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น
อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐ
อสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม
เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
[๑๖๖๓] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และ
อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม และมหาภูตรูป
เกิดขึ้น
[๑๖๖๔] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และ
อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และมหาภูตรูป ฯลฯ
[๑๖๖๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ฯลฯ
ในวิปากปัจจัย มี " ๕
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
ในกุสลัตติกะท่านจำแนกไว้อย่างไร พึงจำแนกอย่างนั้น
[๑๖๖๖] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย-
*วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น
[๑๖๖๗] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ในกุสลัตติกะ ท่านจำแนกไว้อย่างไร พึงจำแนกอย่างนั้น
ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๕
" อธิปติปัจจัย มี " ๖ ฯลฯ
" อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๕ ฯลฯ
ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๒ ฯลฯ
สหชาตวารก็ดี ปัจจัยวาร นิสสยวาร สังสัฏฐวาร และสัมปยุตตวารก็ดี พึงให้-
*พิสดาร
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๐ บรรทัดที่ ๑๙๙๔๔-๒๐๐๐๕ หน้าที่ ๗๙๑-๗๙๔.
http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=19944&Z=20005&pagebreak=0
http://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=40&A=19944&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=178
ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1660
พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=40&A=10057
อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12711
The Pali Tipitaka in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=40&A=10057
The Pali Atthakatha in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12711
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐
http://84000.org/tipitaka/read/?index_40
อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :-
https://suttacentral.net/patthana1.6/en/narada
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]
