ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
ปัจจยวาร
[๒๔๖] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น อัพยากตธรรมอาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล เกิดขึ้น กุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๒๔๗] อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น อัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น อกุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๒๔๘] อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น อกุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น อกุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น [๒๔๙] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล และมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น กุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล และมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น [๒๕๐] อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น อัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศลและมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น อกุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศลและมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น [๒๕๑] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๒๕๒] อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น โสตวิญญาณ อาศัย โสตายตนะ เกิดขึ้น ฆานวิญญาณ อาศัยฆานายตนะ เกิดขึ้น ชิวหาวิญญาณ อาศัยชิวหายตนะ เกิดขึ้น กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตวิบาก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๒๕๓] กุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น อกุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๒๕๔] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๒๕๕] อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๒๕๖] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ มี ๓ นัย ๑- อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ มี ๓ นัย ๒- อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากต- *กิริยา เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น อธิปติปัจจัย พึงให้พิสดารเหมือนอย่างเหตุปัจจัย [๒๕๗] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย พึงให้พิสดารเหมือนอย่างอารัมมณปัจจัย [๒๕๘] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ มี ๓ นัย อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ มี ๓ นัย อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากต- *กิริยา เกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ ๓- พาหิรรูปอาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น ๓- @๑.-๒. ตามนัยแห่งข้อ ๒๕๑-๒๕๕ @๓. ตามนัยแห่งข้อ ๖๐ แต่บาลีในข้อ ๒๕๘ น่าจะตก "ฯเปฯ" ไป ๓ แห่ง จึงได้เติมไว้ให้ครบ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น พึงให้พิสดารเหมือนเหตุปัจจัย [๒๕๙] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ฯลฯ ๑- อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ฯลฯ ๒- อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา เกิดขึ้น ฯลฯ ๓- ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น อัพยากตวิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ ๔- ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น สำหรับพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น @๑. อย่างเดียวกับนิเทส ในปฏิจจวาร ข้อ ๖๑ @๒. อย่างเดียวกับนิเทส ในปฏิจจวาร ข้อ ๖๑ @๓. ตามนัยแห่งข้อ ๖๑ @๔. ตามนัยแห่งข้อ ๖๑ กุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น พึงให้พิสดารเหมือนอย่างอารัมมณปัจจัย [๒๖๐] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ฯลฯ พึงให้พิสดารเหมือนอย่างสหชาตปัจจัย [๒๖๑] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอุปนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล ฯลฯ เหมือนกับอารัมมณปัจจัย [๒๖๒] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ เกิดขึ้น ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย กุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย อกุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทย- *วัตถุ เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย อกุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะปุเรชาต- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย [๒๖๓] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตกิริยา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตกิริยา อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น อกุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ อกุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวน- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ [๒๖๔] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น มี ๓ นัย อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย มี ๓ นัย อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยาธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย อกุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศล และมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น [๒๖๕] อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ มหา- *ภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตวิบาก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๒๖๖] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น มี ๓ นัย อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น มี ๓ นัย อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น พึงใส่ให้เต็ม [๒๖๗] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอินทริยปัจจัย ฯลฯ อกุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอินทริยปัจจัย ฯลฯ อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะอินทริยปัจจัย ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น จักขุวิญญาณ อาศัย จักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะอินทริยปัจจัย พึงให้พิสดารเหมือนอย่างกัมมปัจจัย [๒๖๘] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย ฌานปัจจัยก็ดี มัคคปัจจัยก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนเหตุปัจจัย [๒๖๙] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ปัจจัยนี้ เหมือนอย่างอารัมมณปัจจัย [๒๗๐] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล เกิดขึ้น หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย กุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะ วิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย อกุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะ วิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากต- *กิริยา เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต- *ปัจจัย หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ อุปาทารูปที่เป็นจิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยา อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย กุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย อกุศลธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย กุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย อกุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศล อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตต- *สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทย- *วัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศลและมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย กุศลธรรมและอัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกุศลและมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย อกุศลธรรม อาศัยอกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย อัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม และอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะ วิปปยุตตปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศลและมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย อกุศลธรรม และอัพยากตธรรม อาศัยอกุศลธรรม และอัพยากตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอกุศลและมหาภูตรูป ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐาน- *รูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย [๒๗๑] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรม เกิดขึ้น เพราะอัตถิปัจจัย ฯลฯ ในอัตถิปัจจัย พึงแจกเหมือนสหชาตปัจจัย ในนัตถิปัจจัย และวิคตปัจจัย พึงแจกเหมือนอารัมมณปัจจัย ในอวิคตปัจจัย พึงแจกเหมือนสหชาตปัจจัย [๒๗๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๗ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๗ ในอธิปติปัจจัย มี " ๑๗ ในอนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย มี " ๑๗ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๗ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑๗ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๗ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๗ ในอาเสวนปัจจัย มีวาระ ๗ ในกัมมปัจจัย มี " ๑๗ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๑๗ ในอินทริยปัจจัย มี " ๑๗ ในฌานปัจจัย มี " ๑๗ ในมัคคปัจจัย มี " ๑๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๗ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๑๗ ในอัตถิปัจจัย มี " ๑๗ ในนัตถิปัจจัย มี " ๗ ในวิคตปัจจัย มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๗ [๒๗๓] ในอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๗ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗ [๒๗๔] ในอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัย ทุกๆ ข้อ มีวาระ ๗ ฯลฯ ในวิปากปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มีวาระ ๑ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ [๒๗๕] ในกัมมปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย กับอธิปติปัจจัย กับอนันตรปัจจัย กับสมนันตรปัจจัย กับสหชาตปัจจัย กับอัญญมัญญปัจจัย กับนิสสยปัจจัย กับอุปนิสสยปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มีวาระ ๗ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ [๒๗๖] ในวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย กับกัมมปัจจัย กับอาหารปัจจัย กับวิคตปัจจัย มีวาระ ๗ [๒๗๗] ในอาหารปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย กับกัมมปัจจัย กับวิปากปัจจัย มีวาระ ๑ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑ [๒๗๘] ในอวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย กับกัมมปัจจัย กับวิปากปัจจัย กับอาหารปัจจัย กับวิคตปัจจัย มีวาระ ๑
เหตุมูลกนัย จบ.
[๒๗๙] ในเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มีวาระ ๗ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ฯลฯ วาระที่มีอารัมมณปัจจัยเป็นมูล พึงให้พิสดารเหมือนอย่างวาระ ที่มีเหตุปัจจัยเป็นมูล [๒๘๐] ในเหตุปัจจัย กับอธิปติปัจจัย มีวาระ ๑๗ ในเหตุปัจจัย กับอนันตรปัจจัย มี " ๗ ในเหตุปัจจัย กับสมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในเหตุปัจจัย กับสหชาตปัจจัย กับอัญญมัญญปัจจัย กับนิสสยปัจจัย กับอุปนิสสยปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มีวาระ ๗ ในอารัมมณปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย กับสหชาตปัจจัย กับอัญญมัญญปัจจัย กับนิสสยปัจจัย กับ อุปนิสสยปัจจัย กับปุเรชาตปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มีวาระ ๗ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ [๒๘๑] ในเหตุปัจจัย กับกัมมปัจจัย กับวิปากปัจจัย มีวาระ ๑ ในอารัมมณปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ [๒๘๒] ในเหตุปัจจัย กับอาหารปัจจัย กับอินทริยปัจจัย กับฌานปัจจัย กับมัคคปัจจัย กับสัมปยุตตปัจจัย กับวิปปยุตตปัจจัย กับอัตถิปัจจัย กับนัตถิปัจจัย กับวิคตปัจจัย กับอวิคตปัจจัย มีวาระ ๑๗ ในอารัมมณปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
อนุโลม ในปัจจยวาร จบ.

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๐ บรรทัดที่ ๒๙๔๗-๓๓๕๖ หน้าที่ ๑๑๕-๑๓๑. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=2947&Z=3356&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=40&A=2947&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=32              ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=246              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=40&A=1672              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=11064              The Pali Tipitaka in Roman :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=40&A=1672              The Pali Atthakatha in Roman :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=11064              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ https://84000.org/tipitaka/read/?index_40

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]