บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
อุปปันนัตติกะ ปัญหาวาร [๑๘๘๘] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๑๘๘๙] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุที่เป็นอุปปันนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความ เป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุนั้น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ โสตะที่เป็นอุปปันนธรรม ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่อาวัชชนะ โดย อารัมมณปัจจัย [๑๘๙๐] อนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ รูปที่เป็นอนุปปันนธรรม ฯลฯ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ บุคคลพิจารณา เห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปปันนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ อนาคตตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๘๙๑] อุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ จักขุที่เป็นอุปปาทิธรรม ฯลฯ กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาทิธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดย ความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ ฯลฯ แก่ อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๘๙๒] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำจักขุที่เป็นอุปปันนธรรมให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุนั้น ฯลฯ ทิฏฐิ เกิดขึ้น โสตะที่เป็นอุปปันนธรรม ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏรูปฐานทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๘๙๓] อนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ รูปที่เป็นอนุปันนธรรม ฯลฯ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปันนธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำรูปเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น [๑๘๙๔] อุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ จักขุที่เป็นอุปปาทิธรรม ฯลฯ กาย รูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาทิธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๘๙๕] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยสหชาต- *ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยสหชาต- *ปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยสหชาตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย โดยสหชาต ปัจจัย พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป- *ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย [๑๘๙๖] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุ โดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยอัญญมัญญปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยอัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยอัญญ- *มัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ [๑๘๙๗] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์- *ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม โดยนิสสยปัจจัย [๑๘๙๘] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยฤดูที่เป็นอุปปันนธรรม แล้วยัง ฌานให้เกิดขึ้น วิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยโภชนะที่เป็นอุปปันนธรรม ฯลฯ เสนาสนะ แล้วยังฌานให้เกิดขึ้น วิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ฤดูที่เป็นอุปปันนธรรม ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น อุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย [๑๘๙๙] อนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลปรารถนาวรรณสมบัติที่เป็นอนุปันนธรรม ย่อมให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม บุคคลปรารถนาสัททสมบัติที่เป็นอนุปปันนธรรม ฯลฯ คันธสมบัติ รสสมบัติ โผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปปันนธรรม ย่อมให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ วรรณสมบัติที่เป็นอนุปปันนธรรม ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๙๐๐] อุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลปรารถนาจักขุสมบัติที่เป็นอุปปาทิธรรม ย่อมให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ บุคคลปรารถนาโสตสมบัติที่เป็นอุปปาทิธรรม ฯลฯ กายสมบัติ วรรณสมบัติ คันธ- *สมบัติ ฯลฯ รสสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาทิธรรม ย่อม ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ จักขุสมบัติที่เป็นอุปปาทิธรรม ฯลฯ กายสมบัติ วรรณสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่ สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๙๐๑] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นหทัยวัตถุ โดย ความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะ เกิดขึ้น โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๙๐๒] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๙๐๓] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๙๐๔] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปากปัจจัย [๑๙๐๕] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอาหารปัจจัย [๑๙๐๖] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย [๑๙๐๗] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๙๐๘] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย [๑๙๐๙] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอวิคตปัจจัย [๑๙๑๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มี " ๑ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๑ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๑ ในปัจฉาชาตปัจจัย ในกัมมปัจจัย ในวิปากปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย ในสัมปยุตตปัจจัย ในวิปปยุตตปัจจัย ในอัตถิปัจจัย ในอวิคตปัจจัย มี " ๑พึงนับอย่างนี้ อนุโลม จบ [๑๙๑๑] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย [๑๙๑๒] อนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๙๑๓] อุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๙๑๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๓ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๒พึงนับอย่างนี้ ปัจจนียะ จบ [๑๙๑๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑อนุโลมปัจจนียะ จบ [๑๙๑๖] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑ปัจจนียานุโลม จบ ปัญหาวาร จบ อุปันนัตติกะ ที่ ๑๗ จบ เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๑๓๐๔๐-๑๓๒๖๘ หน้าที่ ๕๕๔-๕๖๓. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=13040&Z=13268&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=41&A=13040&pagebreak=0 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4] อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=39 ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1888 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=41&A=10430 อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12750 The Pali Tipitaka in Roman :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=41&A=10430 The Pali Atthakatha in Roman :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12750 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ https://84000.org/tipitaka/read/?index_41 อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/patthana1.18/en/narada
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]