บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
ปัญหาวาร [๑๐๘๔] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย เหตุปัจจัย [๑๐๘๕] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดยเหตุ- *ปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดย เหตุปัจจัย [๑๐๘๖] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏ- *ฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๑๐๘๗] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดยเหตุปัจจัย มี ๓ นัย [๑๐๘๘] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๑๐๘๙] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้น บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน บุคคลออกจากฌานแล้ว พิจารณา ฌาน พระเสกขบุคคลทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลส ทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน พระเสกขบุคคล หรือ ปุถุชน พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม โดย ความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอาจยคามิธรรม โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณัญจายตนกุศล โดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกุศล ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๐๙๐] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ พระอรหันต์พิจารณากิเลสที่ละแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาล- *ก่อน บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดย ความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอาจยคามิธรรม โดยเจโตปริยญาณ พระเสกขบุคคล หรือ ปุถุชน พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม โดย ความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา เมื่ออกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบากเกิดขึ้น บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เพราะ ปรารภขันธ์นั้น ราคะเกิดขึ้น โทมนัสเกิดขึ้น เมื่อกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบากเกิดขึ้น อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก และกิริยา โดย อารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก และกิริยา โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุส- *สติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๐๙๑] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระเสกขบุคคลทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอปจยคามิธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุส- *สติญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๐๙๒] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ พระอรหันต์ออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอปจยคามิธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุส- *สติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๐๙๓] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอรหันต์พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ผล แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย พระอรหันต์พิจารณาเห็นจักขุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดย ความเป็นอนัตตา โสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย เจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกิริยา โดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญญายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพาตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต- *ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๐๙๔] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ พระเสกขบุคคลทั้งหลายพิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน โดยอารัมมณปัจจัย พระเสกขบุคคล หรือ ปุถุชน พิจารณาเห็นจักขุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดย ความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุนั้น ราคะ เกิดขึ้น โทมนัสเกิดขึ้น โสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อม เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย เจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๐๙๕] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอารัมมณปัจจัย [๑๐๙๖] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา บุคคลกระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้วพิจารณา บุคคลออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๐๙๗] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๐๙๘] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๐๙๙] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๑๐๐] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่พระเสกขบุคคลทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้หนักแน่นแล้ว พิจารณา [๑๑๐๑] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดยอธิปติ ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่พระอรหันต์ออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ [๑๑๐๒] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินา- *ปจยคามิธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๑๐๓] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว พิจารณา กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ผล โดยอธิปติปัจจัย ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๑๐๔] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยอธิปติ- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระเสกขบุคคลทั้งหลายกระทำผลให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน โดยอธิปติปัจจัย บุคคลกระทำจักขุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรมให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ [๑๑๐๕] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดยอธิปติ ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอธิปติ- *ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย [๑๑๐๖] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อาจยคามิธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โดยอนันตรปัจจัย [๑๑๐๗] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม ฯลฯ คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอนันตรปัจจัย [๑๑๐๘] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย อนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมของพระเสกขบุคคล เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออก จากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๑๑๐๙] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย อนันตรปัจจัย คือ มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล โดยอนันตรปัจจัย [๑๑๑๐] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เกิดหลังๆ ภวังค์ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ อนุโลมของ พระอรหันต์ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๑๑๑๑] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม ฯลฯ คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๑๑๒] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย ในสหชาตปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัยในปฏิจจวาร มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับอัญญมัญญปัจจัยในปฏิจจวาร มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในนิสสยปัจจัย เหมือนกับนิสสยปัจจัยในปัจจยวาร แม้ทั้ง ๔ ปัจจัย ปัจจัย สงเคราะห์ที่ต่างกันไม่มี มีหัวข้อปัจจัย ๑๓ [๑๑๑๓] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอาจยคามิธรรมแล้ว ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ ให้เกิดขึ้น ก่อนมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอาจยคามิธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นอาจยคามิธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธาที่เป็นอาจยคามิธรรม แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรม แห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอุปนิสสยปัจจัย ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญา- *ยตนะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๑๑๔] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อันัตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุถมรรค โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๑๑๕] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นอาจยคามิธรรม แล้วกระทำตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน ย่อมได้ทุกข์ มีการแสวงหาเป็นมูล บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอาจยคามิธรรม ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา แล้ว กระทำตนให้เดือนร้อน ให้เร่าร้อน ย่อมได้รับทุกข์ มีการแสวงหาเป็นมูล ศรัทธาที่เป็นอาจยคามิธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัย แค่สุขกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย กุศล อกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๑๑๖] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๑๑๗] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระเสกขบุคคลทั้งหลาย เข้าไปอาศัยมรรคแล้ว ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว บุคคลพิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความ เป็นอนัตตา มรรคของพระเสกขบุคคล เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา แก่ธัมมปฏิสัมภิทา แก่นิรุตติ- *ปฏิสัมภิทา แก่ปฏภาณปฏิสัมภิทา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๑๑๘] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์เข้าไปอาศศัยมรรคแล้ว ยังกิริยาสมาบัติ ที่ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ฐานาฐานโกสัลละ โดย อุปนิสสยปัจจัย มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๑๑๙] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยสุขทางกาย แล้วกระทำตนให้ เดือดร้อน ให้เร่าร้อน ย่อมได้ทุกข์ มีการแสวงหาเป็นมูล บุคคลเข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ ฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วกระทำ ตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ ฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย พระอรหันต์เข้าไปอาศัยสุขทางกายแล้ว ยังกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น ฯลฯ พิจารณาเห็นแจ้ง เข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ ฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ พิจารณาเห็นแจ้ง [๑๑๒๐] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยสุขทางกาย ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์ บุคคลเข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ ฤดู ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอาจยคามิธรรม แก่ปัญญา แก่ ราคะ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๑๒๑] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสย ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลเข้าไปอาศัยสุขทางกายแล้วยังมรรคให้เกิดขึ้น บุคคลเข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ ยังมรรคให้เกิดขึ้น สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย [๑๑๒๒] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ พระอรหันต์พิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดย ความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๑๒๓] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่พระเสกขบุคคล หรือปุถุชนพิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อม เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะเกิดขึ้น โทมนัสเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๑๒๔] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาต ได้แก่หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อปจยคามิธรรม โดยปุเรชาติปัจจัย [๑๑๒๕] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย ปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๑๒๖] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย ปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรมที่เกิดขึ้นภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๑๒๗] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๑๒๘] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อาจยคามิธรรมที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โดยอาเสวนปัจจัย [๑๑๒๙] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอาเสวนปัจจัย [๑๑๓๐] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม ฯลฯ คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจายคามินาปจยคามิธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรมที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๑๑๓๑] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๑๓๒] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจคามินาปจยคามิธรรม โดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลายโดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๑๓๓] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินา- *ปจยคามิธรรม ฯลฯ คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๑๓๔] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๑๓๕] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๑๓๖] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินา- *ปจยคามิธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๑๓๗] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๑๓๘] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปากปัจจัย [๑๑๓๙] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยอาหารปัจจัย เป็น ปัจจัย โดยอินทริยปัจจัย เป็นปัจจัย โดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย เป็น ปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย [๑๑๔๐] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๑๔๑] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันทธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๑๔๒] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา- *รูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน [๑๑๔๓] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิ- *ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๑๔๔] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิ- *ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๑๔๕] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ [๑๑๔๖] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดยอัตถิ- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย [๑๑๔๗] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ อปจยคามิธรรม ฯลฯ มี ๓ นัย พึงกระทำโดยนัยแห่งอาจยคามิธรรม [๑๑๔๘] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริยะ ที่เป็น สหชาต ได้แก่ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่พระอรหันต์พิจารณาเห็นจักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็น ของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลน ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ จักขาจตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ รูปชีวิตินทรีย์ เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย [๑๑๔๙] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยอัตถิ- *ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ พระเสกขบุคคล หรือปุถุชนพิจารณาเห็นจักขุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น โสตะ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นหทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยวทิพพจักขุ ฯลฯ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๑๕๐] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดยอัตถิ ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แห่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อปจยคามิธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๑๕๑] อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจย- *คามิธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๑๕๒] อาจยคามิธรรม และเนวาจยคมินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริยะ ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรมและกวฬิงการาหาร เป็น ปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย [๑๑๕๓] อปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ อปจยคามิธรรม โดยอัตถิปัจจัย พึงกระทำเป็นหัวข้อปัจจัย ๒ ตามนัยที่ได้แสดงมาแล้ว เป็นปัจจัยโดย นัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดย วิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อวิคตปัจจัย [๑๑๕๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๗ ในอธิปติปัจจัย มี " ๑๐ ในอนันตรปัจจัย มี " ๖ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๖ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๗ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๗ ในอินทริยปัจจัย มี " ๗ ในฌานปัจจัย มี " ๗ ในมัคคปัจจัย มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มีวาระ ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๑๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๖ ในวิคตปัจจัย มี " ๖ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๓อนุโลม จบ [๑๑๕๕] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๑๕๖] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๑๕๗] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย โดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๑๑๕๘] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินา- *ปจยคามิธรรม โดยสหชาตปัจจัย [๑๑๕๙] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๑๖๐] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๑๖๑] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย โดย ปัจฉาชาตปัจจัย [๑๑๖๒] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินา- *ปจยคามิธรรม โดยสหชาตปัจจัย [๑๑๖๓] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิ- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย [๑๑๖๔] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย [๑๑๖๕] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย [๑๑๖๖] อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจย- *คามิธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต [๑๑๖๗] อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริยะ [๑๑๖๘] อปจยคามิธรรม และเนวจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ อปจยคามิธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต [๑๑๖๙] อปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริยะ [๑๑๗๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มีวาระ ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย มี " ๑๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๑๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย มี " ๑๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๑๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มีวาระ ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๑๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๑๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๙พึงนับอย่างนี้ ปัจจนียะ จบ [๑๑๗๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗พึงนับอย่างนี้ อนุโลมปัจจนียะ จบ [๑๑๗๒] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓พึงนับอย่างนี้ ปัจจนียานุโลม จบ อาจยคามิตติกะ ที่ ๑๐ จบ เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๘๑๔๒-๘๗๑๓ หน้าที่ ๓๔๖-๓๗๐. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=8142&Z=8713&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=41&A=8142&pagebreak=0 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7], [8] อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=21 ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1084 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=41&A=6734 The Pali Tipitaka in Roman :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=41&A=6734 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ https://84000.org/tipitaka/read/?index_41
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]