ปัจจยวาร
[๕๐๖] คันถธรรม อาศัยคันถธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
มี ๓ นัย เหมือนกับ ปฏิจจวาร
ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัย
หทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยหทัยวัตถุ
คันถธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ คันถธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม คันถธรรม
ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ
คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ คันถธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่ใช่คันถธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ คันถธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทัยวัตถุ
คันถธรรม อาศัยคันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ อภิชฌากายคันถะ อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ และสัมปยุตต
ขันธ์ทั้งหลาย
พึงผูกจักรนัย
อภิชฌากายคันถะ อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ และหทัยวัตถุ
พึงผูกจักรนัย
ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยคันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม
และคันถธรรมทั้งหลาย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัย
คันถธรรมและหทัยวัตถุ
คันถธรรม และธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยคันถธรรมและธรรม
ที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อภิชฌากายคันถะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑
ที่ไม่ใช่คันถธรรม และสีลัพพตปรามาสกายคันถะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พึงผูกจักรนัย
อภิชฌากายคันถะ และสัมปยุตตขันธ์ อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ
และหทัยวัตถุ เกิดขึ้น
พึงผูกจักรนัย
[๕๐๗] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
[๕๐๘] ธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่คันถธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ จักขุวิญญาณ
อาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่คันถธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ
หทัยวัตถุ ฯลฯ
[๕๐๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
พึงนับอย่างนี้
[๕๑๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย
กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย
กับ ฯลฯ มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย
กับ ฯลฯ มี " ๓
[๕๑๑] ในอารัมมณปัจจัย
กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑
ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
แม้นิสสยวาร ก็เหมือนกับ ปัจจยวาร นั่นเอง
สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี พึงกระทำเป็นหัวข้อปัจจัย ๙
รูปไม่มี
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๒ บรรทัดที่ ๙๑๙๑-๙๒๕๔ หน้าที่ ๓๗๖-๓๗๘.
http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=42&A=9191&Z=9254&pagebreak=0
http://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=42&A=9191&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=42&siri=64
ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=506
พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=42&A=5999
The Pali Tipitaka in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=42&A=5999
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒
http://84000.org/tipitaka/read/?index_42
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]
