อุปาทานสัมปยุตตทุกะ
ปฏิจจวาร
[๔๒๖] อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม โลภะ และ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม.
อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม
เพราะเหตุปัจจัย เกิดขึ้น
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ขันธ์
๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ และโลภะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม ขันธ์
๒ ฯลฯ.
อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ขันธ์
๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม
ขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม.
อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตต-
*ธรรม.
อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และโลภะ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม
และโลภะ.
อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม
และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคต-
*วิปปยุตตธรรม และโลภะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๔๒๗] อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ-
*ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ โลภะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม.
อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และโลภะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม
ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม
ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ.
อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม.
อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และโลภะ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ฯลฯ
[๔๒๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๖
ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
ในอนันตรปัจจัย มี " ๖
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๖
ในสหชาตปัจจัย มี " ๙
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖
ในนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๖
ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๖
ในอาเสวนปัจจัย มี " ๖
ในกัมมปัจจัย มี " ๙
ในวิปากปัจจัย มี " ๑
ในอาหารปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙
ในมัคคปัจจัย มี " ๙
ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๖
ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๙
ในอัตถิปัจจัย มี " ๙
ในนัตถิปัจจัย มี " ๖
ในวิคตปัจจัย มี " ๖
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙.
[๔๒๙] อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๔๓๐] อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม.
อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณ-
*ปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม จิตตสมุฏฐาน-
*รูป อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม ในปฏิสนธิขณะ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม
เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม
และโลภะ.
ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย ไม่ใช่เพราะอนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย
ไม่ใช่เพราะอุปนิสสยปัจจัย.
[๔๓๑] อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ
ปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาต-
*ปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ โลภะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตต-
*ธรรม จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม.
อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม
เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และโลภะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคต
สัมปยุตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตต-
*สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะที่
เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม ในปฏิสนธิขณะ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.
อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาต-
*ปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม.
อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม
เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม
ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม
เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม
และโลภะ.
ฯลฯ ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย.
[๔๓๒] อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ
กัมมปัจจัย
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม.
อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะกัมม-
*ปัจจัย
คือ สัมปปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม พาหิรรูป ฯลฯ
อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะกัมมปัจจัย
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม.
อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม
เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม
และโลภะ.
[๔๓๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๗
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓
การนับทั้งสอง นอกจากนี้ ก็พึงกระทำ
สหชาตวาร เหมือนกับปฏิจจวาร.
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๓ บรรทัดที่ ๖๙๕๘-๗๑๑๖ หน้าที่ ๒๗๑-๒๗๗.
http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=6958&Z=7116&pagebreak=0
http://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=43&A=6958&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=43&siri=49
พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=43&A=5115
The Pali Tipitaka in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=43&A=5115
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓
http://84000.org/tipitaka/read/?index_43
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]
