ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๔ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๑๑ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕

หน้าที่ ๔๙๒.

ปริตตัตติกเหตุทุกะ
[๒๖๖] เหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย [๒๖๗] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓ [๒๖๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
สหชาตวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาร
[๒๖๙] เหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปริตต- *ธรรม โดยเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม โดยเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณ- *ธรรม โดยเหตุปัจจัย [๒๗๐] เหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปริตต- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๔๙๓.

เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย [๒๗๑] เหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปริตต- *ธรรม โดยอธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม โดยอธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณ- *ธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ นัย [๒๗๒] เหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปริตต- *ธรรม โดยอนันตรปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม โดยอนันตรปัจจัย มี ๓ นัย เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม โดยอนันตรปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม โดยอนันตรปัจจัย มี ๓ นัย เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณ- *ธรรม โดยอนันตรปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๔๙๔.

เหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม โดยอนันตรปัจจัย มี ๓ นัย [๒๗๓] เหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นปริตต- *ธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๗๔] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๖ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓ [๒๗๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ [๒๗๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ [๒๗๗] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖ แม้ปัญหาวารในกุสลัตติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น [๒๗๘] นเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย นเหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๔๙๕.

นเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม และนเหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัย นเหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย นเหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม และนเหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัย นเหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย นเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม และ นเหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย นเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม และ นเหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย [๒๗๙] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๕ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในวิคตปัจจัย มี " ๕ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๓ [๒๘๐] นเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม อาศัยนเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย [๒๘๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๕ [๒๘๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๕

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๔๙๖.

[๒๘๓] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ สหชาตวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาร [๒๘๔] นเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็น ปริตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นมหัคคต- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณ- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย นเหตุธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรมที่เป็นปริตต ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย [๒๘๕] นเหตุธรรมที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุธรรม ที่เป็น ปริตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย [๒๘๖] ในอารัมมณปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๗ ในอธิปติปัจจัย มี " ๗ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๑๑ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๗ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๓

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๔๙๗.

[๒๘๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๑๕ [๒๘๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๗ [๒๘๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๗
แม้ปัญหาวารในกุสลัตติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น
ปริตตัตติกเหตุทุกะ จบ

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๔ บรรทัดที่ ๑๑๗๗๗-๑๑๙๐๔ หน้าที่ ๔๙๒-๔๙๗. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=44&A=11777&Z=11904&pagebreak=1 http://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=44&A=11777&pagebreak=1              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=44&siri=141              ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44&i=2177              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=44&A=7801              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=44&A=7801              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ http://84000.org/tipitaka/read/?index_44

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]