เหตุทุกปริตตัตติกะ
ปฏิจจวาร
[๕๓๕] ปริตตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยปริตตธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
ปริตตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยปริตตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย มี ๓ นัย
ปริตตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยปริตตธรรมที่เป็นเหตุ และปริตตธรรมที่
ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๕๓๖] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
[๕๓๗] ปริตตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยปริตตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
ปริตตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยปริตตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะเหตุปัจจัย
[๕๓๘] ปริตตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยปริตตธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
ปริตตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยปริตตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะอารัมมณปัจจัย
ปริตตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยปริตตธรรมที่เป็นเหตุ และปริตตธรรมที่
ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
[๕๓๙] ปริตตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยปริตตธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย
[๕๔๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓
[๕๔๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
[๕๔๒] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒
สหชาตวารก็ดี ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตต-
*วารก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาร
ปัญหาวาร
[๕๔๓] ปริตตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรมที่เป็นเหตุ โดย
เหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๕๔๔] ปริตตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรมที่เป็นเหตุ โดย
อารัมมณปัจจัย
[๕๔๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
ในอนันตรปัจจัย มี " ๙
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
[๕๔๖] ปริตตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรมที่เป็นเหตุ โดย
อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย
[๕๔๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙
[๕๔๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
[๕๔๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
อนุโลมก็ดี ปัจจนียะก็ดี อนุโลมปัจจนียะก็ดี ปัจจนียานุโลมก็ดี แห่ง
ปัญหาวาร ในกุสลัตติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น
ปฏิจจวาร
[๕๕๐] มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยมหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
มหัคคตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยมหัคคตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย มี ๓ นัย
มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยมหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ และมหัคคตธรรม
ที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๕๕๑] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
ในอนันตรปัจจัย มี " ๙
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙
ในสหชาตปัจจัย มี " ๙
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙
ในนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๙
ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙
ในกัมมปัจจัย มี " ๙
ในวิปากปัจจัย มี " ๙
ในอาหารปัจจัย มี " ๙
ในวิคตปัจจัย มี " ๙
[๕๕๒] มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยมหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย
[๕๕๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๙
[๕๕๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
[๕๕๕] ในเหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
สหชาตวารก็ดี ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตต-
*วารก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาร
ปัญหาวาร
[๕๕๖] มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ
โดยเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๕๕๗] มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ
โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย
มหัคคตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ โดย
อารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย
มหัคตธรรมที่เป็นเหตุ และมหัคคตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่
มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย
[๕๕๘] มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ
โดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ มี ๓ นัย
มหัคคตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ โดย
อธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ มี ๓ นัย
[๕๕๙] มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ
โดยอนันตรปัจจัย
[๕๖๐] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
ในอธิปติปัจจัย มี " ๖
ในอนันตรปัจจัย มี " ๙
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙
ในนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙
ในกัมมปัจจัย มี " ๓
ในวิปากปัจจัย มี " ๙
ในอาหารปัจจัย มี " ๓
ในอินทริยปัจจัย มี " ๙
ในฌานปัจจัย มี " ๓
ในมัคคปัจจัย มี " ๙
ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๙
ในอัตถิปัจจัย มี " ๙
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
[๕๖๑] มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรมที่เป็นเหตุ
โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย
[๕๖๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙
[๕๖๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
[๕๖๔] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
อนุโลมก็ดี ปัจจนียะก็ดี อนุโลมปัจจนียะก็ดี ปัจจนียานุโลมก็ดี แห่ง
ปัญหาวาร ในกุสลัตติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น
ปฏิจจวาร
[๕๖๕] อัปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยอัปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
อัปปมาณธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยอัปปมาณธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
อัปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยอัปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ และอัปปมาณ-
*ธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๕๖๖] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในกัมมปัจจัย มี " ๙
ในวิปากปัจจัย มี " ๙
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
[๕๖๗] อัปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยอัปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย
[๕๖๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๙
[๕๖๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖
[๕๗๐] ในเหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖
สหชาตวารก็ดี ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตต-
*วารก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาร
ปัญหาวาร
[๕๗๑] อัปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ
โดยเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๕๗๒] อัปปมาณธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรมที่ไม่ใช่
เหตุ โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย
[๕๗๓] อัปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ
โดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ มี ๓ นัย
อัปปมาณธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรมที่ไม่ใช่เหตุ โดย
อธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ มี ๓ นัย
[๕๗๔] อปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรมที่เป็น
เหตุ โดยอนันตรปัจจัย มี ๙ นัย
[๕๗๕] ในอัปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรมที่เป็น
เหตุ โดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ มี ๙ นัย
[๕๗๖] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓
ในอธิปติปัจจัย มี " ๖
ในอนันตรปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙
ในสหชาตปัจจัย มี " ๙
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙
ในนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในกัมมปัจจัย มี " ๓
ในวิปากปัจจัย มี " ๙
ในอาหารปัจจัย มี " ๓
ในอินทริยปัจจัย มี " ๙
ในฌานปัจจัย มี " ๓
ในมัคคปัจจัย มี " ๙
ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๙
ในอัตถิปัจจัย มี " ๙
ในนัตถิปัจจัย มี " ๙
ในวิคตปัจจัย มี " ๙
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
[๕๗๗] อัปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรมที่เป็นเหตุ
โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย
[๕๗๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙
[๕๗๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
[๕๘๐] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
อนุโลมก็ดี ปัจจนียะก็ดี อนุโลมปัจจนียะก็ดี ปัจจนียานุโลมก็ดี แห่ง
ปัญหาวาร ในกุสลัตติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น
เหตุทุกปริตัตติกะ จบ
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๔ บรรทัดที่ ๒๙๔๗-๓๑๖๓ หน้าที่ ๑๒๓-๑๓๑.
https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=44&A=2947&Z=3163&pagebreak=0
https://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=44&A=2947&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=44&siri=12
ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :-
https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44&i=535
พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
https://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=44&A=1801
The Pali Tipitaka in Roman :-
https://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=44&A=1801
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔
https://84000.org/tipitaka/read/?index_44
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]
