เหตุทุกหินัตติกะ
ปฏิจจวาร
[๖๒๕] หีนธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยหีนธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย มี ๓ นัย
หีนธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยหีนธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุ
ปัจจัย มี ๓ นัย
หีนธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยหีนธรรมที่เป็นเหตุ และหีนธรรมที่ไม่ใช่เหตุ
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๖๒๖] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
ในอนันตรปัจจัย มี " ๙
ในสมนันตรปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในสหชาตปัจจัย มี " ๙
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙
ในนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๙
ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙
ในกัมมปัจจัย มี " ๙
ในอาหารปัจจัย มี " ๙
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
[๖๒๗] หีนธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยหีนธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
[๖๒๘] หีนธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยหีนธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ นัย
หีนธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยหีนธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ
อธิปติปัจจัย มี ๓ นัย
หีนธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยหีนธรรมที่เป็นเหตุ และหีนธรรมที่ไม่ใช่เหตุ
เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ นัย
[๖๒๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๙
[๖๓๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อ
ปัจจัย ๙
[๖๓๑] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อ
ปัจจัย ๑
สหชาตวารก็ดี ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตตวาร
ก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาร
ปัญหาวาร
[๖๓๒] หีนธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่หีนธรรมที่เป็นเหตุ โดยเหตุ
ปัจจัย มี ๓ นัย
[๖๓๓] หีนธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่หีนธรรมที่เป็นเหตุ โดย
อารัมมณปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สห-
*ชาตาธิปติ
[๖๓๔] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
ในอนันตรปัจจัย มี " ๙
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙
ในสหชาตปัจจัย มี " ๙
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙
ในนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙
ในกัมมปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในอาหารปัจจัย มี " ๓
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
[๖๓๕] หีนธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่หีนธรรมที่เป็นเหตุ โดย
อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย
[๖๓๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙
[๖๓๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี
หัวข้อปัจจัย ๓
[๖๓๘] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อ
ปัจจัย ๙
อนุโลมก็ดี ปัจจนียะก็ดี อนุโลมปัจจนียะก็ดี ปัจจนียานุโลมก็ดี แห่ง
ปัญหาวาร ในกุสลัตติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น
ปฏิจจวาร
[๖๓๙] มัชฌิมธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยมัชฌิมธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
[๖๔๐] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
[๖๔๑] มัชฌิมธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยมัชฌิมธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
[๖๔๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓
[๖๔๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อ
ปัจจัย ๓
[๖๔๔] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑
สหชาตวารก็ดี ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตต-
*วารก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาร
ปัญหาวาร
[๖๔๕] มัชฌิมธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่มัชฌิมธรรมที่เป็นเหตุ โดย
เหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๖๔๖] มัชฌิมธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่มัชฌิมธรรมที่เป็นเหตุ
โดยอารัมมณปัจจัย
เป็นปัจจัยโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ
สหชาตาธิปติ
[๖๔๗] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
ในอนันตรปัจจัย มี " ๙
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙
ในกัมมปัจจัย มี " ๓
ในวิปากปัจจัย มี " ๙
ในอาหารปัจจัย มี " ๓
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
[๖๔๘] มัชฌิมธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่มัชฌิมธรรมที่เป็นเหตุ
โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย
[๖๔๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙
[๖๕๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
[๖๕๑] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
อนุโลมก็ดี ปัจจนียะก็ดี อนุโลมปัจจนียะก็ดี ปัจจนียานุโลมก็ดี แห่ง
ปัญหาวาร ในกุสลัตติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น
ปฏิจจวาร
[๖๕๒] ปณีตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยปณีตธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
ปณีตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยปณีตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย มี ๓ นัย
ปณีตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยปณีตธรรมที่เป็นเหตุ และปณีตธรรมที่ไม่ใช่
เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๖๕๓] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
ในกัมมปัจจัย มี " ๙
ในวิปากปัจจัย มี " ๙
ในอาหารปัจจัย มี " ๙
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
[๖๕๔] ปณีตธรรมที่เป็นเหตุ อาศัยปณีตธรรมที่เป็นเหตุ เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย
[๖๕๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๙
[๖๕๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖
[๖๕๗] ในเหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖
สหชาตวารก็ดี ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สมปยุตต-
*วารก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาร
ปัญหาวาร
[๖๕๘] ปณีตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ปณีตธรรมที่เป็นเหตุ โดย
เหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๖๕๙] ปณีตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เป็นปัจจัยแก่ปณีตธรรมที่ไม่ใช่เหตุ
โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย
[๖๖๐] ปณีตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ปณีตธรรมที่เป็นเหตุ โดย
อธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ มี ๓ นัย
[๖๖๑] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓
ในอธิปติปัจจัย มี " ๖
ในอนันตรปัจจัย มี " ๙
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙
ในสหชาตปัจจัย มี " ๙
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙
ในนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙
ในกัมมปัจจัย มี " ๓
ในวิปากปัจจัย มี " ๙
ในอาหารปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในอินทริยปัจจัย มี " ๙
ในฌานปัจจัย มี " ๓
ในมัคคปัจจัย มี " ๙
ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๙
ในอัตถิปัจจัย มี " ๙
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
[๖๖๒] ปณีตธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่ปณีตธรรมที่เป็นเหตุ โดย
สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย
[๖๖๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙
[๖๖๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
[๖๖๕] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
อนุโลมก็ดี ปัจจนียะก็ดี อนุโลมปัจจนียะก็ดี ปัจจนียานุโลมก็ดี แห่ง
ปัญหาวาร ในกุสลัตติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น
เหตุทุกหีนัตติกะ จบ
-----------------------------------------------------
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๔ บรรทัดที่ ๓๓๙๑-๓๕๖๘ หน้าที่ ๑๔๑-๑๔๘.
https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=44&A=3391&Z=3568&pagebreak=0
https://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=44&A=3391&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=44&siri=14
ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :-
https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44&i=625
พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
https://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=44&A=2073
The Pali Tipitaka in Roman :-
https://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=44&A=2073
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔
https://84000.org/tipitaka/read/?index_44
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]
