ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๘ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
๑๑. อัปปสุตสูตร
[๓๘๗] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของ ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัส เรียกภิกษุทั้งหลาย ... แล้วได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายย่อมคบค้า กัน ย่อมสมาคมกัน โดยธาตุเทียว คือสัตว์จำพวกที่มีสุตะน้อย ย่อมคบค้ากัน ย่อม สมาคมกัน กับสัตว์จำพวกที่มีสุตะน้อย สัตว์จำพวกที่เกียจคร้าน ย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกัน กับสัตว์จำพวกที่เกียจคร้าน สัตว์จำพวกที่มีปัญญาทราม ย่อม

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๑๘๑.

คบค้ากัน ย่อมสมาคมกัน กับสัตว์จำพวกที่มีปัญญาทราม สัตว์จำพวกที่มีสุตะมาก ย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกัน กับสัตว์จำพวกที่มีสุตะมาก สัตว์จำพวกที่ปรารภ ความเพียร ย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกัน กับสัตว์จำพวกที่ปรารภความเพียร สัตว์ จำพวกที่มีปัญญา ย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกัน กับสัตว์จำพวกที่มีปัญญา ฯ [๓๘๘] สัตว์จำพวกที่มีสุตะน้อย ย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกัน กับ สัตว์จำพวกที่มีสุตะน้อย สัตว์จำพวกที่มีสติหลงลืม ย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคม กัน กับสัตว์จำพวกที่มีสติหลงลืม สัตว์จำพวกที่มีปัญญาทราม ย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกัน กับสัตว์จำพวกที่มีปัญญาทราม สัตว์จำพวกที่มีสุตะมาก ย่อมคบ ค้ากัน ย่อมสมาคมกัน กับสัตว์จำพวกที่มีสุตะมาก สัตว์จำพวกที่มีสติมั่นคง ย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกัน กับสัตว์จำพวกที่มีสติมั่นคง สัตว์จำพวกที่มี ปัญญา ย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกัน กับสัตว์จำพวกที่มีปัญญา ฯ
จบสูตรที่ ๑๑

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖ บรรทัดที่ ๔๓๓๑-๔๓๔๙ หน้าที่ ๑๘๐-๑๘๑. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=16&A=4331&Z=4349&pagebreak=1              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=16&siri=100              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=16&i=387              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [387-388] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=16&item=387&items=2              The Pali Tipitaka in Roman :- [387-388] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=16&item=387&items=2              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ https://84000.org/tipitaka/read/?index_16              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://84000.org/tipitaka/english/metta.lk/16i352-e.php#sutta11 https://suttacentral.net/sn14.21/en/sujato

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :