ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
             [๑๓๕๕] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยเหตุปัจจัย
             คือ เหตุที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยเหตุปัจจัย
             วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยเหตุปัจจัย
             คือ เหตุที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย
             วิปากธัมมธรรมเป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
โดยเหตุปัจจัย
             คือ เหตุที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป โดย
เหตุปัจจัย
             [๑๓๕๖] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม-
*ธรรม โดยเหตุปัจจัย
             คือ เหตุที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
*สมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย
             [๑๓๕๗] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
             คือ บุคคลพิจารณาเห็นวิบากขันธ์ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภวิบากขันธ์นั้น มีราคะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ
โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศล อกุศลดับแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น
             วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
             คือ พระเสกขบุคคล พิจารณาผล พิจารณาเห็นวิบากขันธ์ โดยความไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภวิบากขันธ์นั้น มีราคะ ฯลฯ
โทมนัส เกิดขึ้น รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยวิปากจิต โดยเจโตปริยญาณ

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๖๙๕.

วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปค- *ญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอรหันต์ พิจารณาผล พิจารณาเห็นวิบาก โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยวิปากจิต โดยเจโตปริยญาณ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตัง- *สญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๓๕๘] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ แล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศล ที่เคยสั่งสมไว้ในกาลก่อน ออกจากฌาน พิจารณาฌาน พระเสกขบุคคลพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน พระเสกขบุคคลออกจากมรรค พิจารณามรรค พระเสกขบุคคลพิจารณากิเลส ที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็น วิปากธัมมธรรม โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วย- *วิปากธัมมธรรม โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกุศล โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพ- *นิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศล อกุศลดับแล้ว ตทารัมมณจิต อันเป็นวิบาก เกิดขึ้น

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๖๙๖.

อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก โดยอารัมมณ- *ปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณ ปัจจัย คือ พระอรหันต์ออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณากุศล ธรรมที่เคยสั่งสมไว้ แล้วในกาลก่อน พระอรหันต์พิจารณากิเลสที่ละแล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน พิจารณา- *เห็นขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มี- *ความพร้อมเพรียงด้วยวิปากธัมมธรรม โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกิริยา โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๓๕๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอรหันต์พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย พระอรหันต์พิจารณาเห็นจักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกิริยา โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ อากิญจัญญายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดย- *อารัมมณปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๖๙๗.

เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผล โดยอารัมมณปัจจัย พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณา- *เห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เพราะปรารภจักษุนั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศล และอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก เกิดขึ้น รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักษุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอารัมมณปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ พระเสกขะ พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค โดยอารัมมณปัจจัย พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ฯลฯ มีโทมนัส เกิดขึ้น พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปาก- *ธัมมธรรม โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เห็นรูป- *ด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยเนววิปาก- *นวิปากธัมมธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๓๖๐] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอธิปติปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๖๙๘.

มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่- *สัมปยุตตขันธ์ โดยอธิปติปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่พระเสกขะ กระทำผลให้เป็นอารมณ์- *อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณากระทำวิบากขันธ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำผลและวิบากนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น มีราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ฯลฯ วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่าง- *หนักแน่น แล้วพิจารณา ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย [๑๓๖๑] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ แล้ว กระทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา กระทำกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็น- *อารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา พระเสกขะกระทำโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา กระทำโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๖๙๙.

พระเสกขะออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา กระทำขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น มีราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ โดยอธิปติปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์ออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่- *จิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็น- *ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย [๑๓๖๒] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่าง- *หนักแน่น แล้วพิจารณา ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็น- *ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผล โดยอธิปติปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๐๐.

เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระเสกขะกระทำนิพพานให้เป็น- *อารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค โดยอธิปติปัจจัย พระเสกขะกระทำจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น มีราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ฯลฯ โสตะ ฯลฯ กระทำขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะทำโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น มีราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ฯลฯ [๑๓๖๓] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ วิบากขันธ์ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ปัญจวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบาก โดยอนันตรปัจจัย มโนธาตุที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบาก โดยอนันตรปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ วิภังคจิต เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต โดยอนันตรปัจจัย มโนวิญญาณธาตุที่เป็น- *วิบาก เป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นกิริยา โดยอนันตรปัจจัย [๑๓๖๔] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยวิปากธัมมธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โดยอนันตรปัจจัย โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอนันตรปัจจัย โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอนันตรปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๐๑.

อนุโลมของพระเสกขะ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลของพระอริยบุคคล ผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล- *สมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๑๓๖๕] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม ธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น- *เนววิปากนวิปากธัมมธรรมที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมของพระอรหันต์ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาของพระอรหันต์ ผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล สมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๓๖๖] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยสมนันตรปัจจัย เหมือนอนันตรปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ มี ๓ นัย [๑๓๖๗] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยสหชาตปัจจัย มี ๓ นัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย สหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ มหาภูตรูป ฯลฯ พาหิรรูป อาหาร สมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๐๒.

สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ [๑๓๖๘] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยสหชาต- *ปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ โดยสหชาตปัจจัย [๑๓๖๙] วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย สหชาตปัจจัย วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก- *ธัมมธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย [๑๓๗๐] วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดย สหชาตปัจจัย [๑๓๗๑] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ โดยอัญญมัญญปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย อัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ โดย อัญญมัญญปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๐๓.

[๑๓๗๒] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอัญญมัญญ ปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย อัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ โดยอัญญมัญญปัจจัย [๑๓๗๓] วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก- *ธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ มีวาระ ๗ [๑๓๗๔] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม มี ๓ นัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม คือ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่วิบากขันธ์ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม [๑๓๗๕] วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก- *ธรรม โดยนิสสยปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๐๔.

คือ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ และกายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก- *ธัมมธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิบาก และมหาภูตรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม และหทยวัตถุ วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปาก- *นวิปากธัมมธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดย นิสสยปัจจัย มีวาระ ๑๓ [๑๓๗๖] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ กายิกสุข เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผล สมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย กายิกทุกข์ เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย สมาบัติ เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข โดยอุปนิสสยปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยกายิกสุข ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยกายิกทุกข์ ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ ทำลายสงฆ์ กายิกสุข ฯลฯ กายิกทุกข์ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๐๕.

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์ อาศัยกายิกสุข ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้นได้ เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว พิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา อาศัยกายิกทุกข์ ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว [๑๓๗๗] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธา ให้ทาน ฯลฯ ถือมานะ ทิฏฐิ อาศัยศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ให้ทาน ฯลฯ ถือมานะ ทิฏฐิ อาศัยราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ศีล ฯลฯ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรม แห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัย แก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็น ปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัย แก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ปฐมมรรค เป็นปัจจัย แก่ทุติยมรรค ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค โดย อุปนิสสยปัจจัย พระเสขบุคคลอาศัยมรรค ทำกุศลสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น ฯลฯ มรรค เป็นปัจจัย แก่อัตถปฏิสัมภิทาของพระเสขบุคคล ฯลฯ แก่ความเป็นผู้ฉลาดในฐานและอฐานะ โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย ปาณาติบาต เป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาต ฯลฯ แก่มิจฉาทิฏฐิ โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ มิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิ โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ พยาบาท เป็นปัจจัยแก่พยาบาท โดยอุปนิสสยปัจจัย มาตุฆาตกรรม เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ แก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ โดยอุปนิสสยปัจจัย นิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ แก่สังฆ- *เภทกรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ [๑๓๗๘] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๐๖.

มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธา ทำตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์ที่มีการแสวงหาเป็นมูล ฯลฯ อาศัยความปรารถนา ทำตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย กุศลและอกุศล เป็นปัจจัยแก่กรรมวิบาก โดยอุปนิสสยปัจจัย มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์อาศัยมรรค ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้ เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว พิจารณาเห็นสังขารโดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา แก่ธัมมปฏิสัมภิทา แก่นิรุตติปฏิสัมภิทา แก่ปฏิภาณ- *ปฏิสัมภิทา ของพระอรหันต์ แก่ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและอฐานะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๓๗๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์อาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุ ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยโภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๐๗.

[๑๓๘๐] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ พระอรหันต์เห็นจักษุ ฯลฯ กาย โดยความเป็น ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ เห็นรูป โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ ฯลฯ ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นเนววิปากนวิปาก ธัมมธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ โดย ความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุ นั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ตทารัมมณจิต ย่อมเกิดขึ้น รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ โดยปุเรชาตปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ เพราะปรารภจักษุนั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๐๘.

[๑๓๘๑] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยปัจฉาชาต- *ปัจจัย คือ วิบากขันธ์ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๓๘๒] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย ปัจฉาชาตปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย ปัจฉาชาตปัจจัย [๑๓๘๓] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดขึ้นก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม ที่เกิดขึ้นหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอาเสวนปัจจัย [๑๓๘๔] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอาเสวนปัจจัย [๑๓๘๕] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ วิปากเจตนาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิปาก- *เจตนา ฯลฯ วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยกัมมปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป โดยกัมมปัจจัย [๑๓๘๖] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยกัมมปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยกัมมปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๐๙.

มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ วิบากขันธ์ โดยกัมมปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยกัมมปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นวิปากและกฏัตตารูป โดยกัมมปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย [๑๓๘๗] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก ธัมมธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย [๑๓๘๘] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยวิปากปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๑๐.

วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย วิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ในปฏิสนธิ ขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป โดยวิปากปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารที่เป็นวิปาก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ มี ๓ นัย แม้ในปฏิสนธิขณะ พึงแจกให้ได้ ๓ นัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอาหารปัจจัย มี ๓ นัย [๑๓๘๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยอาหารปัจจัย กวฬิงราหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอาหารปัจจัย [๑๓๙๐] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอินทริยปัจจัย มี ๓ นัย ในปฏิสนธิขณะ ก็พึงแจก วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอินทริยปัจจัย มี ๓ นัย [๑๓๙๑] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยอินทริยปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอินทริยปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย กายินทรีย์ ฯลฯ [๑๓๙๒] วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก ธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ จักขุนทรีย์และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โดย อินทริยปัจจัย ฯลฯ

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๑๑.

กายินทรีย์และกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ โดยอินทริย ปัจจัย [๑๓๙๓] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย ฌานปัจจัย คือ องค์ฌานที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยฌานปัจจัย [๑๓๙๔] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย มัคคปัจจัย คือ องค์มรรคที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิตต- *สมุฏฐานรูป โดยมัคคปัจจัย [๑๓๙๕] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยสัมปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๓๙๖] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยสัมปยุตตปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย สัมปยุตตปัจจัย คือ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสัมปยุตตปัจจัย [๑๓๙๗] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๑๒.

ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนๆ โดย วิปปยุตตปัจจัย [๑๓๙๘] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อนๆ โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๓๙๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ที่เกิดก่อนๆ โดยวิปปยุตตปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ โดย วิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ โดยวิปปยุตตปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๑๓.

[๑๔๐๐] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็น วิบาก เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยอัตถิ ปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย อัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๔๐๑] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๑๔.

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย [๑๔๐๒] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป แก่จิตต- *สมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป โดยอัตถิปัจจัย พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐาน- *รูป ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ พระอรหันต์ พิจารณาเห็นจักษุ โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดีเพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ฯลฯ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักษุ วิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ จักขายตนะ เป็น

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๑๕.

ปัจจัยแก่จักขุ วิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบาก ขันธ์ โดยอัตถิปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ฯลฯ มีโทมนัส เกิดขึ้น เห็นรูปด้วย ทิพยจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๔๐๓] วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ซึ่งสหรคตด้วยกายวิญญาณ และหทยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก ธัมมธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ วิบากขันธ์และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ วิบากขันธ์และกวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ วิบากขันธ์และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป [๑๔๐๔] วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ วิปากธัมมธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๑๖.

วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากนวิปาก- *ธัมมธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่- *จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและกวฬิงการาหาร เป็นปัจจัย- *แก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัย- *แก่กฏัตตารูป วิปากธัมมธรรม ฯลฯ นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย เหมือนอนันตรปัจจัย อวิคตปัจจัย เหมือนอัตถิปัจจัย [๑๔๐๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๑๐ ในอนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย มี " ๑๑ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๗ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๓ ในอาหารปัจจัย มี " ๗

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๑๗.

ในอินทริยปัจจัย มีวาระ ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๗ ในมัคคปัจจัย มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๑๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๗ ในวิคตปัจจัย มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๓ [๑๔๐๖] ในอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ จำนวนอนุโลมแห่งปัญหาวาร ในกุสลัตติกะท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น
อนุโลม จบ
[๑๔๐๗] ในวิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๑๘.

วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยปัจฉาชาตปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย สหชาตปัจจัย [๑๔๐๘] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยกัมมปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยกัมมปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยกัมมปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยสหชาตปัจจัย [๑๔๐๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดย อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยปัจฉาชาต- *ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอาหารปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอินทริยปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยปุเรชาตปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยปุเรชาตปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๑๙.

[๑๔๑๐] วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก ธัมมธรรม มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก- *ธัมมธรรม มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย [๑๔๑๑] วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ วิปากธัมมธรรม มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก ธัมมธรรม มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย [๑๔๑๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๑๖ " อธิปติปัจจัย มี " ๑๖ " อนันตรปัจจัย มี " ๑๖ " สมนันตรปัจจัย มี " ๑๖ " สหชาตปัจจัย มี " ๑๒ " อัญญมัญญปัจจัย มี " ๑๒ " นิสสยปัจจัย มี " ๑๒ " อุปนิสสยปัจจัย มี " ๑๖ " ปุเรชาตปัจจัย มี " ๑๔ " ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑๖ " อาเสวนปัจจัย มี " ๑๖

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๒๐.

ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มีวาระ ๑๕ " วิปากปัจจัย มี " ๑๔ " อาหารปัจจัย มี " ๑๖ " อินทริยปัจจัย มี " ๑๖ " ฌานปัจจัย มี " ๑๖ " มัคคปัจจัย มี " ๑๖ " สัมปยุตตปัจจัย มี " ๑๒ " วิปปยุตตปัจจัย มี " ๑๐ " อัตถิปัจจัย มี " ๑๐ " นัตถิปัจจัย มี " ๑๖ " วิคตปัจจัย มี " ๑๖ " อวิคตปัจจัย มี " ๑๐ [๑๔๑๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑๐
พึงแจกให้พิสดารเหมือนที่แจกจำนวนปัจจนียะ ในกุสลัตติกะ
ปัจจนียะ จบ
[๑๔๑๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ " อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๒๑.

ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ " อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " อินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ [๑๔๑๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับสหชาตปัจจัย กับ นิสสยปัจจัย กับอัตถิปัจจัย กับอวิคตปัจจัย มีวาระ ๗ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗
พึงแจกให้พิสดารเหมือนที่แจกจำนวนอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลัตติกะ
ผู้มีปัญญาพึงจำแนกวิธีสาธยาย เช่นนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๔๑๖] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๑ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๒๒.

ในปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในกัมมปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓ [๑๔๑๗] ในอธิปติปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๗ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑๓
พึงแจกให้พิสดารเหมือนที่แจกจำนวนอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลัตติกะ
ปัจจนียานุโลม จบ
วิปากัตติกะที่ ๓ จบ
อุปาทินนัตติกะ
ปฏิจจวาร
[๑๔๑๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๗๒๓.

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทา- *นิยธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอุปาทิน- *นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ ปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา- *นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๐ บรรทัดที่ ๑๗๕๐๑-๑๘๒๓๓ หน้าที่ ๖๙๔-๗๒๓. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=17501&Z=18233&pagebreak=1              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7], [8], [9], [10]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=170              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1354              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [1355-1418] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=40&item=1355&items=64              The Pali Tipitaka in Roman :- [1355-1418] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=40&item=1355&items=64              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ https://84000.org/tipitaka/read/?index_40

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :