ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน
อาจยคามิตติกะ
ปฏิจจวาร
[๑๐๑๖] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยกาจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ [๑๐๑๗] อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอปจยคามิธรรม ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม อปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอปจยคามิธรรม ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ [๑๐๑๘] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็น อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๐๑๙] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินา- *ปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอปจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๐๒๐] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๐๒๑] อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอปจยคามิธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๐๒๒] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ [๑๐๒๓] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ นัย ฯลฯ อปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ นัย เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ มี ๑ นัย ปฏิสนธิ ไม่มี คือ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอปจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๐๒๔] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะอนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สหชาตปัจจัย พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหมด เพราะ อัญญมัญญปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปก็ดี กฏัตตารูปก็ดี อุปาทารูปก็ดี ไม่มี เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย เพราะ ปุเรชาตปัจจัย เพราะ อาเสวนปัจจัย เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย เพราะ อาหารปัจจัย เพราะ อินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะ สัมปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตตปัจจัย เพราะ อัตถิปัจจัย เพราะ นัตถิปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย [๑๐๒๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มีวาระ ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๙ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๙ ในมัคคปัจจัย มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๓ ในวิคตปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๐๒๖] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ [๑๐๒๗] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวก อสัญญสัตว์ทั้งหลาย อาศัยมหาภูตรูป ๑ [๑๐๒๘] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่ เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะ- *อารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม [๑๐๒๙] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ [๑๐๓๐] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินา- *ปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๐๓๑] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม และเนวาจย- *คามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอปจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๐๓๒] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ นัย อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ อธิปติธรรมที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่ เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทัยวัตถุ มหาภูต- *รูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ [๑๐๓๓] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามิ- *นาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรมและมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๐๓๔] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่ เพราะอนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย ไม่ใช่เพราะ อุปนิสสยปัจจัย ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย
มีหัวข้อปัจจัย ๗ เหมือนกับ กุสลัตติกะ
ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย [๑๐๓๕] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอาเสวน- *ปัจจัย มี ๓ นัย เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ อาเสวนปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่ เพราะอาเสวนปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหมด [๑๐๓๖] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามิ- *นาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจย- *คามิธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอปจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย [๑๐๓๗] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ ไม่ใช่ เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินา- *ปจยคามิธรรม พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ [๑๐๓๘] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปาก- *ปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม ปฏิสนธิ ไม่มี ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาหารปัจจัย ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย ไม่ใช่เพราะมัคคปัจจัย ไม่ใช่เพราะสัมปยุตตปัจจัย ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ นัย ไม่ใช่เพราะนัตถิปัจจัย ไม่ใช่เพราะวิคตปัจจัย [๑๐๓๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๕
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๐๔๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๐๔๑] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
สหชาตวาร เหมือนกับ ปฏิจจวาร

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๗๕๓๑-๗๗๔๙ หน้าที่ ๓๒๐-๓๒๙. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=7531&Z=7749&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=18              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1016              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [1016-1041] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=41&item=1016&items=26              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12730              The Pali Tipitaka in Roman :- [1016-1041] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=41&item=1016&items=26              The Pali Atthakatha in Roman :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12730              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ https://84000.org/tipitaka/read/?index_41              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/patthana1.11/en/narada

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :