สังสัฏฐวาร
[๗๐] สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
คลุกเคล้ากับโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
สหรคตธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๗๑] สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
อเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ คลุกเคล้ากับ
ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
สเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
อเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
คลุกเคล้ากับโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม และอเหตุกธรรม เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๗๒] สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๗๓] สเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อนันตรปัจจัย
ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย
ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ
[๗๔] ฯลฯ เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
อเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม เกิดขึ้น
เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ซึ่งเป็นวิปาก
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ฯลฯ เพราะฌานปัจจัย ฯลฯ
ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย
[๗๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๖
ในอธิปติปัจจัย มี " ๑
ในอนันตรปัจจัย มี " ๖
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๖
ในสหชาตปัจจัย มี " ๖
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖
ในนิสสยปัจจัย มี " ๖
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๖
ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๖ ฯลฯ
ในวิปากปัจจัย มี " ๒
ในอาหารปัจจัย มี " ๖
ในอินทริยปัจจัย มี " ๖
ในฌานปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๖
ในมัคคปัจจัย มี " ๕
ในอวิคตปัจจัย มี " ๖
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๗๖] อเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับสเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ คลุกเคล้า
กับขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
อเหตุกธรรม คลุกเคล้ากับอเหตุกธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ฯลฯ
[๗๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๖
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๗๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๗๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒
ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ฯลฯ
ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒
ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒
ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
สัมปยุตตวาร เหมือนกับ สังสัฏฐวาร
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๒ บรรทัดที่ ๑๒๙๐-๑๓๙๕ หน้าที่ ๕๓-๕๗.
http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=42&A=1290&Z=1395&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=42&siri=5
ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=70
ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
[70-79] http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=42&item=70&items=10
The Pali Tipitaka in Roman :-
[70-79] http://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=42&item=70&items=10
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒
http://84000.org/tipitaka/read/?index_42
บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]