ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
ปัญหาวาร
[๔๙๔] ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรมทั้งหลายที่เป็นสัมปยุตตธรรม โดยเหตุปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
เหตุทั้งหลายที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
เหตุทั้งหลายที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกิเลสธรรม และจิตตสมุฏ- *ฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ. [๔๙๕] ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอารัมมณปัจจัย คือ เพราะปรารภกิเลสธรรมทั้งหลาย กิเลสธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น.
พึงถามถึงมูล
เพราะปรารภกิเลสธรรมทั้งหลาย ธรรมที่ไม่ใช่กิเลสธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น.
พึงถามถึงมูล
เพราะปรารภกิเลสธรรมทั้งหลาย กิเลสธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น.

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๑๙.

ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอารัมมณปัจจัย คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถธรรม ฯลฯ กุศลที่สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน แล้วพิจารณาฌาน ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภทานเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังส- *ญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอารัมมณปัจจัย คือ ทาน ฯลฯ ออกจากฌาน ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งฌาน เพราะปรารภ กุศลกรรมนั้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ เมื่อฌานเสื่อมไป โทมนัส เกิดขึ้นแก่บุคคลผู้เดือดร้อน จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดย อารัมมณปัจจัย คือ ทาน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิด เพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส เพราะปรารภทานเป็นต้นนั้น กิเลสธรรม และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอารัมมณ- *ปัจจัย มี ๓ นัย. [๔๙๖] ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลสโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำกิเลสทั้งหลายให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น กิเลสธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น. มี ๓ นัย เป็นอารัมมณาธิปติ อย่างเดียว.

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๒๐.

ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ. ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ บุคคลกระทำอุโบสถกรรมแล้ว ทำกุศลธรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศล ธรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะเกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น กุศลธรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เป็น ปัจจัยแก่ผล โดยอธิปติปัจจัย จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสให้หนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ. ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ. ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ทาน ฯลฯ ฌาน ฯลฯ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิด เพลินยิ่ง เพราะกระทำทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ. ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรมทั้งหลาย ที่เป็นสัมปยุตตธรรม โดยอธิปติปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดย อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ. ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ทาน ฯลฯ ฌาน ฯลฯ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิด เพลินยิ่ง เพราะกระทำทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น กิเลสธรรมและสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย เกิดขึ้น.

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๒๑.

ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกิเลสธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอธิปติ- *ปัจจัย มี ๓ นัย เป็นอารัมมณาธิปติ อย่างเดียว. [๔๙๗] ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอนันตรปัจจัย คือ กิเลสธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรมทั้งหลายที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
กิเลสธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย กิเลสธรรมทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
กิเลสธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรมทั้งหลายที่เกิดหลังๆ และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสที่ เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรมทั้งหลายที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรมทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรมที่เกิดหลังๆ และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๒๒.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอนันตร- *ปัจจัย คือ กิเลสธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กิเลส ธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
กิเลสธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ ใช่กิเลสทั้งหลายที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย กิเลสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย.
พึงถามถึงมูล
กิเลสธรรมที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรมที่เกิด หลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย. ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย. [๔๙๘] ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ กิเลสธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรมทั้งหลาย มี ๓ นัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา สุขทาง กาย ฯลฯ บุคคลเข้าไปอาศัยเสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๒๓.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอุปนิสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ศีล ฯลฯ บุคคลเข้าไปอาศัยเสนาสนะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรมทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ศีล ฯลฯ บุคคลเข้าไปอาศัยเสนาสนะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย อุปปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ นัย. [๔๙๙] ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส โดย ปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยปุเรชาตปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต.

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๒๔.

ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งหทัย- *วัตถุ ฯลฯ เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น. ที่เป็นวัตถุปุเรชาตได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรมทั้งหลาย โดยปุเรชาต- *ปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยปุเรชาต- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต. ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งหทัย วัตถุ เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น กิเลสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น. ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย โดยปุเรชาตปัจจัย. [๕๐๐] ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยปัจฉา- *ชาตปัจจัย ฯลฯ ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ นัย. [๕๐๑] ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตา- *รูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรมทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยกัมม- *ปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๒๕.

คือ เจตนาที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกิเลสธรรม และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. [๕๐๒] ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยวิปากปัจจัย มี ๑ นัย. ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอาหารปัจจัย มี ๓ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอินทริยปัจจัย มี ๓ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย มี ๙ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ นัย. [๕๐๓] ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรมทั้งหลาย โดย วิปปยุตตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดย วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กิเลสธรรม และสัมป- *ยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยวิปป- *ยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ.
ที่ย่อไว้พึงให้พิสดาร
[๕๐๔] ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอัตถิปัจจัย มี ๑ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ฯลฯ.

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๒๖.

ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอัตถิ- *ปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาร. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ฯลฯ. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ฯลฯ. ที่เป็นสหชาต เหมือนกับสหชาตปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอัตถิ- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต เหมือนกับสหชาตปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอัตถิ- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ โลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัย แก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นสหชาต ได้แก่โลภะ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ โดยอัตถิปัจจัย.
พึงกระทำจักรนัย
ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอัตถิ- *ปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และกิเลสธรรม เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย.

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๒๗.

ที่เป็นสหชาต ได้แก่กิเลสธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน- *รูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นสหชาต ได้แก่กิเลสธรรมทั้งหลาย และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ ไม่ใช่กิเลส โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่กิเลสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กาย นี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ กิเลสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ กิเลสธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ ไม่ใช่กิเลส โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย และแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ โดยอัตถิ- *ปัจจัย ที่เป็นสหชาต ได้แก่ โลภะ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนัตถิปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยวิคตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอวิคตปัจจัย. [๕๐๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๒๘.

ในอัญญมัญญปัจจัย มีวาระ ๙ ในนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย มี " ๓ ในฌานปัจจัย มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๙ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย มี " ๙ ในวิคตปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙. [๕๐๖] ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริย- *ปัจจัย.

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๒๙.

ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาต- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ ไม่ใช่กิเลส โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย. [๕๐๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๙. [๕๐๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๓๓๐.

ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔. [๕๐๙] ในอรัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
พึงกระทำอนุโลมมาติกา.
ในอวิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙.
กิเลสทุกะ จบ

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๓ บรรทัดที่ ๘๑๐๗-๘๔๓๓ หน้าที่ ๓๑๘-๓๓๐. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=8107&Z=8433&pagebreak=1              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=43&siri=61              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [494-509] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=43&item=494&items=16              The Pali Tipitaka in Roman :- [494-509] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=43&item=494&items=16              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ https://84000.org/tipitaka/read/?index_43

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :