ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้า
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๘ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน
ปัญหาวาร
[๒๒๐๓] อนิทัสสอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยเหตุ- *ปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยเหตุปัจจัย [๒๒๐๔] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยเหตุ- *ปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ในอนิทัสสนอัปปฏิฆมูลกะ พึงแจกหัวข้อปัจจัย ๗ ด้วยเหตุนี้ [๒๒๐๕] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาเห็นรูป โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปนั้น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตัง- *สญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๒๒๐๖] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ จักขุ ฯลฯ กาย เสียง กลิ่น รส ฯลฯ โผฏฐัพพะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ สัททายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติ- *ญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๒๒๐๗] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้น พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณ- *ปัจจัย พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว กิเลสทั้งหลายที่เคย เกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ กวฬิงการาหาร ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยเจโต- *ปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย อากิญ- *จัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๒๒๐๘] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำรูปให้นั้นเป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำรูปให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๒๒๐๙] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ จักขุ ฯลฯ กาย เสียง กลิ่น ฯลฯ บุคคลกระทำโผฏฐัพพะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ กระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๒๒๑๐] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผล ฯลฯ กระทำผลให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดยอธิปติปัจจัย หทัยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ กวฬิงการาหาร ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อม- *ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำหทัยวัตถุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอธิปติปัจจัย [๒๒๑๑] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดย อธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยอธิปติปัจจัย ในอนิทัสสนอัปปฏิฆมูลกะ พึงแจกหัวข้อปัจจัย ๗ อธิปติ โดยรูปสังคหะ ๓ อย่าง [๒๒๑๒] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู เป็นปัจจัยแก่ มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล ผล เป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล สมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๒๒๑๓] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย สมนันตรปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย [๒๒๑๔] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดย สหชาตปัจจัย พึงกระทำให้ดี เหมือนกับ ปฏิจจวาร ในอัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิจจวาร ในนิสสยปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาร [๒๒๑๕] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลปรารถนาวรรณสมบัติ ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ วรรณสมบัติ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา แก่สุข ทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๒๑๖] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลปรารถนาจักขุสมบัติ ฯลฯ กายสมบัติ ฯลฯ สัททสมบัติ ฯลฯ ปรารถนาโผฏฐัพพะแล้ว ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฤดู ฯลฯ บุคคลเข้าไปอาศัยเสนาสนะแล้ว ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ มรรค อภิญญา ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์ จักขุสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ ฤดู ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๒๑๗] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ สมาบัติ ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ โภชนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ศรัทธา ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา ฯลฯ แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๒๑๘] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ ด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย [๒๒๑๙] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ กาย ฯลฯ เสียง ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ สัททายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย [๒๒๒๐] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ อาโปธาตุ กวฬิงการาหาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสน- *อัปปฏิฆธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๒๒๒๑] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ได้แก่ รูปายตนะและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๒๒๒๒] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ และหทัยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๒๒๒๓] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ได้แก่ รูปายตนะและจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย [๒๒๒๔] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย ปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็น อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๒๒๒๕] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดย ปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็น สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย พึงแจกหัวข้อปัจจัย ๗ อย่างนี้ รูปสังคหะ ๓ อย่าง [๒๒๒๖] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอาเสวนปัจจัย [๒๒๒๗] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยกัมมปัจจัย [๒๒๒๘] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดย กัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยกัมมปัจจัย พึงแจกหัวข้อปัจจัย ๗ อย่างนี้ ให้เป็น สหชาต นานาขณิก โดยเหตุนี้ รูปสังคหะ ๓ อย่าง [๒๒๒๙] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย วิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ หทัยวัตถุ โดยวิปากปัจจัย [๒๒๓๐] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย วิปากปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยวิปากปัจจัย หัวข้อปัจจัย ๗ พึงให้พิสดารอย่างนี้ ทั้งปวัตติ และปฏิสนธิ [๒๒๓๑] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อาหารปัจจัย คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมนี้ โดยอาหารปัจจัย [๒๒๓๒] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดย อาหารปัจจัย คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยอาหารปัจจัย กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมนี้ โดยอาหารปัจจัย พึงแจกหัวข้อปัจจัย ๗ ทั้งปวัตติ และปฏิสนธิ อย่างนี้ พึงกระทำกวฬิงการาหาร ในหัวข้อปัจจัยทั้ง ๗ [๒๒๓๓] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อินทริยปัจจัย คือ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย [๒๒๓๔] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอินทริยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยอินทริยปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อินทริยปัจจัย [๒๒๓๕] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดย อินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยอินทริยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา- *รูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยอินทริยปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดย อินทริยปัจจัย ทั้งปวัตติ และปฏิสนธิ พึงแจกหัวข้อปัจจัย ๗ อย่างนี้ พึงกระทำรูปชีวิตินทรีย์ใน ที่สุดๆ [๒๒๓๖] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ จักขุนทรีย์ และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุ- *วิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์และกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย [๒๒๓๗] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย ฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดย มัคคปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สัมปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๒๒๓๘] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยวิปปยุตตปัจจัย [๒๒๓๙] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสน- *อัปปฏิฆธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัย แก่กายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๒๒๔๐] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆ- *ธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ กายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย พึงให้หัวข้อปัจจัยทั้ง ๕ ที่เหลือพิสดารอย่างนี้ มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต [๒๒๔๑] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดย อัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ รูป โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย [๒๒๔๒] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดย อัตถิปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดย อัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็น อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยอัตถิปัจจัย โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขายตนะ แก่ รสายตนะ โดยอัตถิปัจจัย พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ที่เป็น อุตุสมุฏฐานรูป เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูต- *รูป ๑ โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอุตุสมุฏฐานรูป เป็นปัจจัยแก่อุปาทารูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยอัตถิปัจจัย ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัย แก่มหาภูตรูป ๒ โดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ [๒๒๔๓] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดย อัตถิปัจจัย เหมือนกับ นิสสยปัจจัยในปฏิจจวาร [๒๒๔๔] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป โดยอัตถิปัจจัย พึงให้พิสดาร ตลอดถึงพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ กาย ฯลฯ เสียง ฯลฯ โผฏฐัพพะ โดยความ เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย หัวข้อปัจจัย ๔ ที่เหลือพึงให้พิสดาร เหมือนกับสหชาตปัจจัย ในปฏิจจวาร ไม่มี แตกต่างกัน [๒๒๔๕] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ อาโปธาตุ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ เป็นปัจจัยแก่อินทรีย์ และกวฬิงการาหาร โดยอัตถิปัจจัย พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย อาโปธาตุ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็น อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ ฯลฯ กวฬิงการาหาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ กายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมนี้ โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอัตถิปัจจัย พึงแจกหัวข้อปัจจัย ๖ ที่เหลืออย่างนี้ พึงกระทำ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย [๒๒๔๖] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ รูปายตนะ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๒๒๔๗] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ- *ฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงกระทำ ตลอดถึงพวกอสัญญสัตว์ [๒๒๔๘] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ฯลฯ [๒๒๔๙] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม พึงกระทำ ตลอดถึงพวก อสัญญสัตว์ ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ และหทัยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอัตถิปัจจัย พึงแจกหัวข้อปัจจัยที่เหลือ [๒๒๕๐] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย [๒๒๕๑] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน- *อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ได้แก่ รูปายตนะ และจักขายตนะ และจักขุ- *วิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย นัตถิปัจจัย และ วิคตปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย อวิคตปัจจัย เหมือนกับ อัตถิปัจจัย [๒๒๕๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสหชาตปัจจัย มีวาระ ๒๑ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย มี " ๒๑ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๖ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๗ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๑ ในกัมมปัจจัย มี " ๗ ในวิปากปัจจัย มี " ๗ ในอาหารปัจจัย มี " ๗ ในอินทริยปัจจัย มี " ๙ ในฌานปัจจัย มี " ๗ ในมัคคปัจจัย มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๑ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๘ ในอัตถิปัจจัย มี " ๒๕ ในนัตถิปัจจัย มี " ๑ ในวิคตปัจจัย มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย มี " ๒๕ [๒๒๕๓] ในอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ [๒๒๕๔] ในสหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในสหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย กับ เหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในสหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และ อวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในสหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย กับเหตุ ปัจจัย มีวาระ ๗ ในสหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปากปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย กับเหตุ- *ปัจจัย มีวาระ ๗ ในสหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปากปัจจัย อัตถิปัจจัย และ อวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในสหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปากปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในสหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปากปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคต- *ปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในสหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปากปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
พึงนับคณวารทั้งหมดอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๒๒๕๕] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมโดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย [๒๒๕๖] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดย สหชาตปัจจัย อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน อัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน- *อัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน- *สัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน- *สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย [๒๒๕๗] อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย โดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน- *อัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมม- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน- *อัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมม- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน- *อัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน- *อัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมม- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน- *สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาต- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริย- *ปัจจัย [๒๒๕๘] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต [๒๒๕๙] อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน- *สัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน- *อัปปฏิฆธรรม ฯลฯ มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน- *สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน- *สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน- *สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน- *สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย [๒๒๖๐] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต [๒๒๖๑] สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน- *สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย [๒๒๖๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๒๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๒๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มีวาระ ๒๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๒๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย มี " ๑๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๒๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๒๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๒๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๒๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๒๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๒๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๒๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๒๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๒๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๒๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๒๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๒๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๒๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๒๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๙ [๒๒๖๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่ เหตุปัจจัย มีวาระ ๒๒ มีอธิบายเหมือนข้อความตามบาลีตอนต้น ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๙ [๒๒๖๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัยและปัจจัยที่ไม่ ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๒๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๒ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๒๒๖๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ [๒๒๖๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย อัตถิปัจจัย อวิคตปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ แม้ในที่นี้ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย [๒๒๖๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย อัตถิปัจจัย อวิคตปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๒๒๖๘] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๑ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๑ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๘ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๕ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒๕
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาร จบ
สนิทัสสนสัปปฏิฆัตติกะ ที่ ๒๒ จบ
อนุโลมติกปัฏฐาน ภาคปลาย จบ
-----------------------------------------------------

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๑๕๓๒๐-๑๕๘๙๓ หน้าที่ ๖๕๐-๖๗๔. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=15320&Z=15893&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=41&A=15320&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7], [8]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=49              ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=2203              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=41&A=12276              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=41&A=12276              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_41

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้า

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]