อรรถกถาสุทธกสูตรที่ ๕ เป็นต้น
สูตรที่ ๕ จักษุและธรรมที่ชื่อว่าอินทรีย์ เพราะอรรถว่าใหญ่ คือเป็นอธิบดีของธรรมทั้งหลายที่เกิดในจักขุทวารนั้นชื่อว่า จักขุนทรีย์.
แม้ในโสตินทรีย์เป็นต้น ก็เป็นนัยเดียวกันนี้แหละ.
คำที่เหลือทุกแห่งตื้นทั้งนั้น.
สูตรทั้ง ๖ สูตร คือสูตรที่ ๑ ในวรรคนี้ และอีก ๕ สูตรมีสูตรที่ ๖ เป็นต้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงแสดงด้วยอำนาจสัจจะ ๔ แล้วแล.
จบอรรถกถาสุทธกสูตรที่ ๕ เป็นต้น
-----------------------------------------------------
อรรถกถาที่มีมาก่อนหน้านี้ :-
อรรถกถา สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค อินทริยสังยุตต์ ฉฬินทริยวรรคที่ ๓
๔. เอกาภิญญาสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=19&i=899
อรรถกถาที่มีถัดจากนี้ :-
อรรถกถา สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค อินทริยสังยุตต์ สุขินทริยวรรคที่ ๔
๑. สุทธกสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=19&i=914
.. อรรถกถา สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค อินทริยสังยุตต์ ฉฬินทริยวรรคที่ ๓ ๕. สุทธกสูตร จบ.
อ่านเนื้อความในพระไตรปิฎก
https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=19&A=5375&Z=5380
อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย
https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=13&A=6909
The Pali Atthakatha in Roman
https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=13&A=6909
- -- ---- ----------------------------------------------------------------------------
ดาวน์โหลด โปรแกรมพระไตรปิฎก
บันทึก ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]