![]() |
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ |
![]() |
![]() | |
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() สูตรที่ ๗-๘ ไม่มีอรรถกถาแก้. อรรถกถาที่มีมาก่อนหน้านี้ :- คำว่า สาตะ (ความสำราญ) ก็เป็นคำใช้แทนคำว่าสุขนั้นเอง. มีอธิบายว่า อร่อย. คำว่า กายสมฺผสฺสชํ เกิดแต่กายสัมผัส ก็มีทำนองที่กล่าวแล้วว่า ความสุขความสำราญที่เกิดจากกายสัมผัส. คำว่า เวทยิตํ นี้เป็นคำแสดงสภาวะที่วิเศษของธรรมข้ออื่นจากเวทนาที่ทั่วไปทั้งหมดของสุขนั้น. แม้ในข้อที่เหลือทั้งหลาย ก็พึงทราบใจความตามนี้. ส่วนในคำว่า ทางกาย หรือทางใจ นี้ ท่านกล่าวว่าทางกายด้วยอำนาจการเกิดขึ้น เพราะทำกายประสาททั้ง ๔ มีตาเป็นต้นให้เป็นที่ตั้ง. ส่วนที่ชื่อว่าอทุกขมสุขที่มีกายประสาทเป็นที่ตั้ง ไม่มี. จบอรรถกถาปฐมวิภังคสูตรที่ ๖ ----------------------------------------------------- .. อรรถกถา สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค อินทริยสังยุตต์ สุขินทริยวรรคที่ ๔ ๘. วิภังคสูตรที่ ๓ จบ. |