![]() |
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ |
![]() |
![]() | |
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() พระสูตรนี้ไม่มีเนื้อความอรรถกถา. พรรณนาพระสูตรว่าด้วยสังเวชนียสถานเป็นต้น คำว่า ควรไปดู (ทสฺสนียานิ) ได้แก่ ควรที่จะดู คำว่า สังเวชนียสถาน (สํเวชนียานิ) ได้แก่ สถานที่ให้เกิดความสลดใจ ในพระสูตรที่ ๙ บัณฑิตพึงทราบวินิจฉัยดังต่อไปนี้ ภัยที่ปรารภชาติเกิดขึ้นชื่อว่าชาติภัย แม้ในคำที่เหลือก็นัยนี้เหมือนกัน ในพระสูตรที่ ๑๐ บัณฑิตพึงทราบวินิจฉัยดังต่อไปนี้ ภัยที่อาศัยไฟเกิดขึ้นชื่อว่าอัคคีภัย แม้ในคำที่เหลือก็นัยนี้เหมือนกัน ทสเม อคฺคิภยนฺติ อคฺคึ ปฏิจฺจ อุปฺปชฺชนกภยํ. เสสปเทสุปิ เอเสว นโย. รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ ๑. เกสีสูตร ๒. ชวสูตร ๓. ปโตทสูตร ๔. นาคสูตร ๕. ฐานสูตร ๖. อัปปมาทสูตร ๗. อารักขสูตร ๘. สังเวชนียสูตร ๙. ภยสูตรที่ ๑ ๑๐. ภยสูตรที่ ๒ ฯ .. อรรถกถา อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต ตติยปัณณาสก์ เกสีวรรคที่ ๒ ๑๐. ภยสูตรที่ ๒ จบ. |