บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ |
รูปนั้นแหละ ชื่อว่ารูป. แม้ในบทที่เหลือก็นัยนี้แล. ในบทเป็นต้นว่า อนิจฺจโต มีวินิจฉัยว่า บุคคลนั้นพิจารณาเห็นธรรมเหล่านั้นโดยความเป็นของไม่เที่ยง ด้วยอรรถว่ามีแล้วไม่มี. เป็นดังโรคด้วยอรรถว่าป่วยไข้. เป็นดังหัวฝีด้วยอรรถว่าประทุษร้ายภายใน. เป็นดังลูกศรด้วยอรรถว่าแทงเข้าไป. เป็นความลามก ด้วยอรรถว่ามีความทนทุกข์. เป็นอาพาธด้วยอรรถว่าบีบคั้น. เป็นอื่นด้วยอรรถว่า ว่าไม่เชื่อฟัง. เป็นของต้องทำลายไปด้วยอรรถว่าย่อยยับ. เป็นของว่างเปล่าด้วยอรรถว่ามิใช่สัตว์. เป็นของมิใช่ตนด้วยอรรถว่าไม่อยู่ในอำนาจ. ก็ในข้อนี้พึงทราบว่า ท่านกล่าวอนิจจลักษณะด้วยสองบทว่า อนิจฺจโต ปโลกโต. ท่าน บทว่า สมนุปสฺสติ คือ พิจารณาเห็นด้วยฌาน. บุคคลเมื่อยกเบญจขันธ์ขึ้นสู่ไตรลักษณ์ พิจารณาเห็นอยู่ ย่อมทำให้แจ้งซึ่งมรรคสาม ผลสาม. บทว่า สุทฺธาวาสานํ เทวานํ สหพฺยตํ อุปปชฺชติ ความว่า บุคคลผู้ดำรงอยู่ในชั้น จบอรรถกถาทุติยฌานสูตรที่ ๔ ----------------------------------------------------- .. อรรถกถา อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต ตติยปัณณาสก์ ภยวรรคที่ ๓ ๔. ฌานสูตรที่ ๒ จบ. |