![]() |
|
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
|
|
![]() |
![]() |
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร ๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร เหตุปัจจัย [๑] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มีสภาวะ ผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ... (๑) สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีสภาวะผิด และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัย สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) [๒] สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะ ชอบและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ [๓] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่ไม่แน่นอน โดยอาการทั้งสองเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้ง สองเกิดขึ้น ...อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัย- วัตถุเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ... จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) [๔] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิดให้ ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีสภาวะผิดให้ผลแน่นอนและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๘๕}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบให้ ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่มีสภาวะชอบให้ผลแน่นอนและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)อารัมมณปัจจัย [๕] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มี สภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและ ให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่มี สภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ ทั้งสองเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอน โดยอาการทั้งสองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (ด้วยเหตุนี้ พึงขยายปัจจัยทั้งหมดให้พิสดาร ย่อ)๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร [๖] เหตุปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๘๖}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย มี ๙ วาระ มัคคปัจจัย มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ (พึงนับอย่างนี้)อนุโลม จบ ๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร นเหตุปัจจัย [๗] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่ไม่แน่นอน โดยอาการทั้งสองเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย อุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๘๗}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอารัมมณปัจจัย [๘] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น (ย่อ)นอธิปติปัจจัย [๙] สภาวธรรมที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะผิดและ ให้ผลแน่นอนอาศัยขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะชอบ และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีสภาวะชอบ และให้ผลแน่นอนอาศัยขันธ์ที่มีสภาวะชอบและให้ผลแน่นอนเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ ทั้งสองเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ ๑ ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น ขันธ์อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ (๑)นอนันตรปัจจัย [๑๐] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองอาศัยสภาวธรรมที่มีสภาวะผิด และให้ผลแน่นอนเกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย (ย่อ พึงขยายทุกปัจจัยให้พิสดาร)๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร [๑๑] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๘๘}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)ปัจจนียะ จบ ๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ เหตุทุกนัย [๑๒] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๘๙}
พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]
๑๕. มิจฉัตตนิยตติกะ ๑. ปฏิจจวาร
นสมนันตรปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)อนุโลมปัจจนียะ จบ ๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม นเหตุทุกนัย [๑๓] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)ปัจจนียานุโลม จบ ปฏิจจวาร จบ (สหชาตวารเหมือนกับปฏิจจวาร) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๙๐}
เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๔๘๕-๔๙๐. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=41&siri=33 ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2]. อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=41&A=11591&Z=11715 ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1632 พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=1632&items=18 อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12742 The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=1632&items=18 The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12742 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41 อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/patthana1.16/en/narada
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
![]() |
บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]