ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน
๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๖๖] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย เหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีทั้งวิตก และวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ วิตกและจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจาร เป็นปัจจัยแก่วิตกและกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และวิตกโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และวิตกโดยเหตุปัจจัย (๖) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิตก และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิตก และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๗) [๖๗] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- ขันธ์โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและจิตต- สมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัย แก่วิจารและกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ วิจาร และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่ไม่ มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิจาร และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๓) [๖๘] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก และวิจารโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยเหตุปัจจัย (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๖๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานที่มีทั้งวิตกและ วิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว พิจารณาผล พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละ ได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่มีทั้งวิตก และวิจาร โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร เพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้น เพราะปรารภกุศลนั้น วิตกจึงเกิดขึ้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสม ไว้ดีแล้ว ออกจากฌานที่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว พิจารณาผล เพราะปรารภฌานเป็นต้นนั้น วิตกจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณา กิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้นเห็นแจ้งขันธ์ที่มีทั้ง วิตกและวิจารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น วิตกจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่มี ทั้งวิตกและวิจาร วิตกจึงเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่มีทั้ง วิตกและวิจารด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่เจโต- ปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และอนาคตังสญาณโดย อารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและ วิจารจึงเกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษา อุโบสถแล้วพิจารณากุศลนั้น เพราะปรารภกุศลนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก จึงเกิดขึ้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ออกจากฌานที่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภกุศลนั้น ขันธ์ที่มีทั้ง วิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณากิเลสที่ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยเป็นสภาวะ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดี เพลิดเพลินขันธ์นั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่มี ทั้งวิตกและวิจาร ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๔) [๗๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภกุศลนั้น วิตกจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น วิตกจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตก วิตกจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ออก จากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภกุศลนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตก และวิจารจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิตก ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณและอนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตก ขันธ์ที่ไม่มี ทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจาร และที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภกุศลนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ วิตกโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ ปรารภความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตก ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก จึงเกิดขึ้น (๔) [๗๑] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก และวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค ผลที่ไม่มีทั้งวิตก วิจารและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย ทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ด้วยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะโดยอารัมมณปัจจัย รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กาย- วิญญาณโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และอนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร ขันธ์ที่ไม่มีทั้ง วิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ออก จากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภกุศลนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและ วิจารจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

มรรค ผล ที่มีทั้งวิตกวิจาร และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้งจักษุ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภ ความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็น แจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะ เป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีทั้ง วิตกวิจารและวิจาร ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภฌานเป็นต้นนั้น วิตก จึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค ผล ที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารและวิตก โดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร และ วิจารโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น วิตกจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่ มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร วิตกจึงเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจาร และที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากฌานที่ไม่ มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผล เพราะปรารภฌาน เป็นต้นนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและวิตก โวทานและวิตก มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก อาวัชชนจิตและวิตกโดยอารัมมณปัจจัย บุคคลเห็นแจ้ง {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

จักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ ปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร และวิจารโดยความเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึง เกิดขึ้น (๕) [๗๒] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารและวิจาร ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจารและวิจาร วิตกจึงเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และ วิจารเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และอนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจาร ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจาร ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๔) [๗๓] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่มีทั้งวิตก วิจารและวิตก ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตก วิตกจึงเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น ปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ และ อนาคตังสญาณโดยอารัมมณปัจจัย เพราะปรารภขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๔)
อธิปติปัจจัย
[๗๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานที่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่มี ทั้งวิตกและวิจารให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์ นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- ขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติและสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณากุศลนั้นให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานที่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณา ผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่มี ทั้งวิตกและวิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลิน ขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดย อธิปติปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอธิปติปัจจัยมีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตก และวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดย อธิปติปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติ- ปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณากุศลนั้นให้ เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น บุคคล พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ออกจากฌานที่มี ทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่าง {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

หนักแน่น เพราะทำการพิจารณาผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้ง วิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- ขันธ์และวิตกโดยอธิปติปัจจัย (๖) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจาร ที่ไม่ มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิตก และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๗) [๗๕] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ออกจาก มรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการ พิจารณาผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลิน ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความ ยินดีเพลิดเพลินขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึงเกิดขึ้น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลออกจากฌาน ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณาผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่ มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลิน ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์และวิตก นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์วิจารและจิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลออกจากฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณาผลนั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดี เพลิดเพลินขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะ ทำความยินดีเพลิดเพลินขันธ์และวิตกนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้ง วิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๕) [๗๖] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก และวิจารโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค ผลที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร และวิจารโดยอธิปติปัจจัย สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัม- ปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจาก ฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณาผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน มรรค และผล ที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ...กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร และวิจารให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้น นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออก จากฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้วพิจารณาผลให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณาผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ผล ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยอธิปติปัจจัย บุคคล ยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึงเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอธิปติ- ปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว พิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำการพิจารณาผลนั้นให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณา {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๕๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและวิตก โวทานและวิตก มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดย อธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ หทัยวัตถุ ... ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะ ทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้ง วิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๕) [๗๗] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัยมีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึง เกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๓) [๗๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ที่ มีทั้งวิตกและวิจารจึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น วิตกจึง เกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะทำขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น (๓)
อนันตรปัจจัย
[๗๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจาร โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจาร มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย แก่ผลที่มีทั้งวิตกและวิจาร ผลที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้งวิตกและ วิจาร อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ วิตกซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ อุปปัตติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ฯลฯ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตก ฯลฯ บริกรรมฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร เป็นปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจาร โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีทั้ง วิตกวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่วิญญาณ ๕ โดย อนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร และวิจาร ฯลฯ บริกรรมทุติยฌานเป็นปัจจัยแก่วิจารในทุติยฌานโดยอนันตรปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

บริกรรมตติยฌาน ฯลฯ บริกรรมจตุตถฌาน ฯลฯ บริกรรมอากาสานัญจายตนะ ฯลฯ บริกรรมวิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ บริกรรมอากิญจัญญายตนะ ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ บริกรรมทิพพจักขุ ฯลฯ บริกรรม ทิพพโสตธาตุ ฯลฯ บริกรรมอิทธิวิธญาณ ฯลฯ บริกรรมเจโตปริยญาณ ฯลฯ บริกรรมปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ บริกรรมยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ บริกรรม อนาคตังสญาณ ฯลฯ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่ไม่ มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย แก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจารโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีทั้งวิตก และวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย บริกรรมฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ วิจารโดยอนันตรปัจจัย โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผล- สมาบัติที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลังๆ และวิตกโดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและวิตก อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานและวิตก โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตก วิจารและวิตก มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก ผลที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก อนุโลมเป็นปัจจัย แก่ผลสมาบัติที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๕) [๘๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ วิตกที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่วิตกซึ่งเกิด {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

หลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัย แก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ วิตกที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติ- จิตที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัย แก่อาวัชชนจิตโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่วิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตก เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดย อนันตรปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่ง เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลังๆ และวิจารโดย อนันตรปัจจัย มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจาร ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ วิจารโดยอนันตรปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ วิตกที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลังๆ และวิตกโดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตและวิตกโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๕) [๘๑] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก และวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่วิจารซึ่งเกิด หลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคที่ไม่มีทั้งวิตก และวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ผลที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น ปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดย อนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็น ปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัย แก่วุฏฐานะที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย เนวสัญญานาสัญญายตนะของ ท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็น ปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีทั้ง วิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยอนันตร- ปัจจัย เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลังๆ และวิจารโดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดย อนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจาก นิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่ไม่มี ทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตและวิตกโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่ มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่มีทั้ง วิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๕) [๘๒] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ภวังค- จิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตร- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิด ก่อนๆ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย อนันตรปัจจัย ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิด ก่อนๆ และวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่ไม่มี {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตร- ปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอนันตรปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่ง เกิดหลังๆ และวิจารโดยอนันตรปัจจัย มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็น ปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ผลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย ภวังคจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตและวิตกโดย อนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่มีทั้งวิตก วิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๕) [๘๓] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่งเกิด ก่อนๆ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตร- ปัจจัย อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจาร โวทานและวิตกเป็นปัจจัย แก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจาร มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้ง วิตกและวิจาร ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้งวิตกและวิจาร อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ และวิตกเป็นปัจจัยแก่วิตกซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย จุติจิตที่มีทั้งวิตกวิจาร {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

และวิตกเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มี ทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย บริกรรมฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยอนันตรปัจจัย โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โวทานและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัย แก่ผลสมาบัติที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น ปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตและ วิตกเป็นปัจจัยแก่วิญญาณ ๕ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น ปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย บริกรรมทุติยฌาน และวิตกเป็นปัจจัยแก่วิจารในทุติยฌานโดยอนันตรปัจจัย บริกรรมตติยฌานและวิตก ฯลฯ บริกรรมจตุตถฌานและวิตก ฯลฯ บริกรรมอากาสานัญจายตนะและวิตก ฯลฯ บริกรรมวิญญาณัญจายตนะและวิตก ฯลฯ บริกรรมอากิญจัญญายตนะและ วิตก ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะและวิตก ฯลฯ บริกรรมทิพพจักขุ และวิตก ฯลฯ บริกรรมทิพพโสตธาตุและวิตก ฯลฯ บริกรรมอิทธิวิธญาณและวิตก ฯลฯ บริกรรมเจโตปริยญาณและวิตก ฯลฯ บริกรรมปุพเพนิวาสานุสสติญาณและ วิตก ฯลฯ บริกรรมยถากัมมูปคญาณและวิตก ฯลฯ บริกรรมอนาคตังสญาณและ วิตก ฯลฯ โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร โวทาน และวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัย แก่ผลสมาบัติที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ จุติจิตที่มี ทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดย อนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย บริกรรมฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกเป็น ปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย โคตรภูและวิตก {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

เป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย โวทานและ วิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัย แก่ผลสมาบัติที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอนันตรปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตก วิจารซึ่งเกิดก่อนๆ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่งเกิดหลังๆ และ วิตก โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและวิตก อนุโลมและวิตกเป็น ปัจจัยแก่โวทานและวิตก โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตก โวทานและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย มรรค ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก ผลที่มีทั้งวิตก วิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ผลที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัย แก่ผลสมาบัติที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอนันตรปัจจัย (๕)
สมนันตรปัจจัย
[๘๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยสมนันตรปัจจัย (อนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัยเหมือนกัน)
สหชาตปัจจัย
[๘๕] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตก และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย สหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ แก่กฏัตตารูป ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย แก่วิตกและจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๕) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตกโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิตกโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๖) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้ง วิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ วิตกและจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ วิตกและจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๗) [๘๖] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ วิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๖๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและจิตต- สมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย วิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ วิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๕) [๘๗] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก และวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย วิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป ฯลฯ วิจารเป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูป ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ วิจารเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจาร ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ... มหา- ภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยสหชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตก และวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๗๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย สหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย สหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย สหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยสหชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและกฏัตตารูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยสหชาตปัจจัย (๕) [๘๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตก วิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยสหชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและมหาภูตรูปเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยสหชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี ทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๗๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตก ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิตกโดยสหชาตปัจจัย (๔) [๘๙] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ วิตกและ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาต- ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ วิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ วิตกและมหาภูตรูปเป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิจารโดยสหชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาต- ปัจจัย ขันธ์ ๓ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ใน {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๗๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ กฏัตตารูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจารโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๔) [๙๐] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตก วิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓) [๙๑] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารวิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสหชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตก วิจาร วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยสหชาตปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย สหชาตปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๗๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

อัญญมัญญปัจจัย
[๙๒] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัญญมัญญปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดย อัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย แก่หทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้ง วิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้ง วิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตกโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และวิตกโดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๖) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๗๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ วิตกและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ วิตกและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๗) [๙๓] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย อัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ วิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดย อัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารโดย อัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจาร และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิตกเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยอัญญมัญญปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ วิตกเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๒ และวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ วิจารและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ วิจารและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๕) [๙๔] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก และวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๗๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

แก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย อัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ โดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ฯลฯ วิจารเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัย แก่วิจาร ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ฯลฯ ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ฯลฯ สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้ง วิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย อัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกโดย อัญญมัญญปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดย อัญญมัญญปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอัญญมัญญปัจจัย (๕) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๗๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๙๕] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้ง วิตกวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัญญมัญญปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่ มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตก วิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยอัญญมัญญปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้ง วิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตกโดยอัญญ- มัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิตกโดย อัญญมัญญปัจจัย (๓) [๙๖] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ วิตก และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจาร วิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิจารและ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัญญมัญญปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๗๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิ- ขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ โดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย (๔) [๙๗] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและ วิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้ง วิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัญญมัญญปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุโดยอัญญ- มัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุโดย อัญญมัญญปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญ- มัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย อัญญมัญญปัจจัย (๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๗๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นิสสยปัจจัย
[๙๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ (ย่อ) มี ๗ วาระ สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยนิสสยปัจจัย (ย่อ) มี ๕ วาระ สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตต- สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย วิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยนิสสย- ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย นิสสยปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจาร ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจารและจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและวิจารโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจาร ฯลฯ (๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๗๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้ง วิตกวิจารและวิตกโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ ฯลฯ (๕) [๙๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและหทัย- วัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ (พึงแสดงทั้งปวัตติกาลและ ปฏิสนธิกาล) (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและหทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่วิตก ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้ง วิตกวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตกโดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔) [๑๐๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ วิตกและหทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๘๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ วิจารโดยนิสสยปัจจัย (บทที่เป็นมูลซึ่งมีในปฏิสนธิกาล มี ๔ วาระ ย่อ) (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสย- ปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดย นิสสยปัจจัย ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจาร ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิจารโดย นิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔) [๑๐๑] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร ฯลฯ มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง วิตกและวิจารโดยนิสสยปัจจัย (พึงขยายทั้ง ๒ วาระให้พิสดาร)
อุปนิสสยปัจจัย
[๑๐๒] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตก และวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจารแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้ เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่มีทั้ง วิตกและวิจาร ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๘๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำมรรค ... ทำ สมาบัติ ... ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจารแล้ว ทำฌานที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำสมาบัติ ... อาศัยศีลที่มีทั้ง วิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ทำฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารให้ เกิดขึ้น ทำมรรค ... ทำสมาบัติ ... ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ความ ปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจารแล้ว ทำฌาน ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำอภิญญา ฯลฯ ทำสมาบัติ ให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนาแล้วทำฌานที่ไม่มี ทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำอภิญญา ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีทั้ง วิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิจาร ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๘๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนาและวิตกโดย อุปนิสสยปัจจัย (๕) [๑๐๓] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารแล้วทำฌาน ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ...วิตกแล้วทำฌานที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิตกเป็นปัจจัยแก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิตก โดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๘๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ฯลฯ ทำมรรค ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจาร ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... วิตกแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ทำ มรรคให้เกิดขึ้น ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิตก เป็นปัจจัย แก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารแล้วทำฌาน ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำอภิญญา ฯลฯ ทำสมาบัติ ให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... วิตกแล้วทำฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ฯลฯ ทำอภิญญา ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิจาร ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจาร และที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๘๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความ ปรารถนาและวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕) [๑๐๔] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก และวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารแล้วทำฌาน ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ... ทำอภิญญา ... ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ...วิจาร ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะแล้วทำฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและ วิจารให้เกิดขึ้น ทำมรรค ... ทำอภิญญา ... ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่ไม่มี ทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... วิจาร ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ...เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีทั้ง วิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ .. ปัญญา ... วิจาร ... สุขทางกาย และทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานที่มีทั้งวิตกและวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ... ทำ มรรค ... ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... วิจาร ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะแล้วให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ทำฌานที่มีทั้งวิตก และวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ... ทำมรรค ... ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๘๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารแล้วทำฌาน ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ... ทำมรรค ... ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีลที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ เสนาสนะแล้วทำฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ให้เกิดขึ้น ทำวิปัสสนา ... ทำมรรค ... ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ศรัทธาที่ไม่มีทั้ง วิตกและวิจาร ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ เสนาสนะเป็น ปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัย แก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... ความปรารถนาและวิตกโดยอุปนิสสย- ปัจจัย (๕) [๑๐๕] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูป- นิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๘๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิจารเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความ ปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิจารเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว ธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิจารเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิจาร ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิจารเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๘๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิจารเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา และวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕) [๑๐๖] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูป- นิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาและวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... ความปรารถนา และวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา และวิตกโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ฯลฯ ความปรารถนาและวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีทั้ง วิตกและวิจาร ฯลฯ ศีล... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญาและวิจาร ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกายโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๘๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ ... ปัญญา ... ความปรารถนาและวิตกเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... ศีล ... สุตะ ... จาคะ .. ปัญญา และวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... ศีล ... สุตะ .. จาคะ ... ปัญญา ... ราคะ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาและวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่มีทั้งวิตกและวิจาร ฯลฯ ความปรารถนาและวิตกโดย อุปนิสสยปัจจัย (๕)
ปุเรชาตปัจจัย
[๑๐๗] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก และวิจารโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วย ทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจาร และวิจารโดยปุเรชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ เห็นแจ้งโผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๘๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะจึงเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดย ปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น วิตกจึง เกิดขึ้น ฯลฯ เห็นแจ้งหทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินหทัยวัตถุนั้น วิตกจึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ วิตกโดยปุเรชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยปุเรชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยปุเรชาตปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็น ทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น เห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะ เป็นต้นนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก โดยปุเรชาตปัจจัย (๕) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๙๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๐๘] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก และวิจารโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดภายหลังเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดภายหลังและ วิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดภายหลังและ วิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่ง เกิดภายหลังและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยปัจฉาชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิด ภายหลังและวิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
อาเสวนปัจจัย
[๑๐๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตก และวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็น ปัจจัยแก่โคตรภู ... อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ... โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มี ทั้งวิตกและวิจาร ... โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอาเสวน- ปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๙๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ วิตกที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย บริกรรมฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็น ปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ บริกรรมทุติยฌานเป็นปัจจัยแก่วิจารในทุติยฌานโดย อาเสวนปัจจัย บริกรรมตติยฌานเป็นปัจจัยแก่ตติยฌาน ฯลฯ บริกรรมจตุตถฌาน เป็นปัจจัยแก่จตุตถฌาน ฯลฯ บริกรรมอากาสานัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่อากาสา- นัญจายตนะ ฯลฯ บริกรรมวิญญาณัญจายตนะเป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ บริกรรมอากิญจัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ บริกรรม เนวสัญญานาสัญญายตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ บริกรรม ทิพพจักขุเป็นปัจจัยแก่ทิพพจักขุ ฯลฯ บริกรรมทิพพโสตธาตุเป็นปัจจัยแก่ทิพพ- โสตธาตุ ฯลฯ บริกรรมอิทธิวิธญาณ ฯลฯ บริกรรมเจโตปริยญาณ ฯลฯ บริกรรม ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ บริกรรมยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ บริกรรม อนาคตังสญาณ ฯลฯ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจาร ฯลฯ โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ บริกรรมฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารเป็นปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร ฯลฯ โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิด ก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่งเกิดหลังๆ และวิตกโดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและวิตก ... อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทานและวิตก ... {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๙๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก ... โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอาเสวนปัจจัย (๕) [๑๑๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ วิตกที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่วิตกซึ่งเกิดหลัง ๆ โดยอาเสวนปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ วิตกที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ วิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลังๆ และวิจารโดย อาเสวนปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ วิตกที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่งเกิดหลังๆ และวิตกโดยอาเสวนปัจจัย (๕) [๑๑๑] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง วิตกและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่วิจารซึ่ง เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๙๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลังๆ และวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๓) [๑๑๒] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารซึ่งเกิดก่อนๆ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารที่เกิด ก่อนๆ และวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารซึ่ง เกิดหลังๆ และวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๓) [๑๑๓] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่ง เกิดก่อนๆ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิดหลังๆ โดย อาเสวนปัจจัย อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัยแก่โคตรภู ... อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัย แก่โวทาน ... โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจาร ... โวทานและ วิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารซึ่งเกิด ก่อนๆ และวิตกเป็นปัจจัยแก่วิตกซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย บริกรรมฌาน ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวน- ปัจจัย โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ... โวทานและ วิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๙๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย บริกรรมทุติยฌานและวิตกเป็นปัจจัยแก่ วิจารในทุติยฌานโดยอาเสวนปัจจัย ฯลฯ บริกรรมเนวสัญญานาสัญญายตนะและ วิตก ฯลฯ บริกรรมทิพพจักขุและวิตก ฯลฯ บริกรรมอนาคตังสญาณและวิตก เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณโดยอาเสวนปัจจัย โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรค ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย โวทานและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ บริกรรมฌาน ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร โวทานและวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอาเสวนปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้ง วิตกวิจารซึ่งเกิดก่อนๆ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารซึ่งเกิดหลังๆ และวิตกโดยอาเสวนปัจจัย อนุโลมและวิตกเป็นปัจจัยแก่โคตรภูและวิตก อนุโลม และวิตกเป็นปัจจัยแก่โวทานและวิตก โคตรภูและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตก วิจารและวิตก โวทานและวิตกเป็นปัจจัยแก่มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดย อาเสวนปัจจัย (๕)
กัมมปัจจัย
[๑๑๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตก และวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย กัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยกัมมปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๙๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก ซึ่งมีทั้งวิตกและวิจารโดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกที่เป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก ซึ่งไม่มีทั้งวิตกวิจารและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก ซึ่งมีทั้งวิตกวิจารและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๙๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกและจิตต- สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย แก่วิตกและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกที่เป็นวิบาก และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ วิตกโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และวิตกโดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก ซึ่งมีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยกัมมปัจจัย (๖) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์วิตก และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจาร เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์วิตกและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก ซึ่งมีทั้งวิตกวิจาร วิตกและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๗) [๑๑๕] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น วิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยกัมมปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๙๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและจิตต- สมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็น ปัจจัยแก่วิจารที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารที่เป็น วิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์วิจารและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น วิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร วิจารและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบาก ซึ่งไม่มีทั้งวิตกวิจารและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
วิปากปัจจัย
[๑๑๖] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตก และวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งมีทั้งวิตกและวิจารเป็น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๙๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดย วิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
(ปัญหาวารทั้ง ๗ วาระที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นมูลบริบูรณ์แล้ว)
สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็น วิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร ฯลฯ (พึงจัดปัญหาวารทั้ง ๕ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นมูลไว้และพึงกำหนดว่าเป็น วิบาก) [๑๑๗] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก และวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ วิจาร ที่เป็นวิปากเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปากปัจจัย วิจารเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยวิปาก- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เป็นวิปากเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารโดยวิปากปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ วิจารที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารที่ เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและกฏัตตารูปโดยวิปากปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๙๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๑๑๘] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่ง ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปากปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็น วิบากซึ่งไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน- รูปโดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งไม่มีวิตกมี เพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปโดยวิปากปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งมีทั้งวิตกวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิบากซึ่งมีทั้งวิตกวิจารและ วิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ซึ่งมีทั้งวิตกวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๐๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

อาหารปัจจัย
[๑๑๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- ขันธ์โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยอาหาร- ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ด้วยเหตุนี้พึงจำแนกปัญหาวารทั้ง ๗ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นมูล) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและจิตต- สมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารเป็น ปัจจัยแก่กายนี้โดยอาหารปัจจัย
อินทรียปัจจัย
[๑๒๐] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- ขันธ์โดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๐๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยอินทรีย- ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๗) (ด้วยเหตุนี้พึงจำแนกปัญหาวารทั้ง ๗ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นมูล) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอินทรียปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัย แก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอินทรียปัจจัย รูป- ชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย (๑)
ฌานปัจจัย
[๑๒๑] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๗) (ด้วยเหตุนี้พึงจำแนกปัญหาวารทั้ง ๗ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นมูล) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๐๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๕) (ด้วยเหตุนี้พึงจำแนกปัญหาวารทั้ง ๗ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นมูล) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย วิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยฌาน- ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยฌานปัจจัย วิจารเป็น ปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยฌานปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยฌานปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยฌานปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจารและจิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและกฏัตตารูปโดยฌานปัจจัย (๓) [๑๒๒] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ วิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่ไม่มี {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๐๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยฌาน- ปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ องค์ฌานที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์และกฏัตตารูปโดยฌานปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยฌานปัจจัย ได้แก่ องค์ฌานที่มีทั้งวิตก วิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยฌานปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
มัคคปัจจัย
[๑๒๓] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตก และวิจารโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัม- ปยุตตขันธ์โดยมัคคปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ด้วยเหตุนี้พึงจำแนกปัญหาวารทั้ง ๗ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นมูล) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สัม- ปยุตตขันธ์โดยมัคคปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (ด้วยเหตุนี้พึงจำแนกปัญหาวารทั้ง ๕ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นมูล) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยมัคคปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๐๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยมัคคปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยมัคคปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยมัคคปัจจัย ได้แก่ องค์มรรคที่มีทั้งวิตก วิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยมัคคปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓)
สัมปยุตตปัจจัย
[๑๒๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตก และวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย สัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยสัมปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตกโดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิตก ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓) [๑๒๕] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๐๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดย สัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ วิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารโดย สัมปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ และวิจาร ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔) [๑๒๖] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง วิตกและวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดย สัมปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจาร และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยสัมปยุตตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๐๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปปยุตตปัจจัย
[๑๒๗] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตก และวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย วิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยวิปปยุตตปัจจัย วิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย วิตกเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) [๑๒๘] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง วิตกและวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยวิปปยุตตปัจจัย วิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย วิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดย วิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยวิปปยุตตปัจจัย วิจารเป็นปัจจัยแก่ หทัยวัตถุโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๐๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดย วิปปยุตตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจารและวิตกโดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตก โดยวิปปยุตตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจาร และวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และ วิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๐๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตก วิจารและวิตกโดยวิปปยุตตปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดย วิปปยุตตปัจจัย (๕) [๑๒๙] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ วิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
อัตถิปัจจัย
[๑๓๐] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๐๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่วิตกโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดย อัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย (๓) (ในนัยที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นมูล ปัญหาวารที่เหลือเหมือนกับสหชาตปัจจัย) [๑๓๑] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมี เพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ วิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและจิตต- สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย วิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่วิจารและกฏัตตารูปโดย อัตถิปัจจัย วิตกเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๓) (ปัญหาวารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นมูล มี ๕ วาระ ที่เหลือเหมือนกับ สหชาตปัจจัย) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๑๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๑๓๒] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง วิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ วิจาร เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีทั้ง วิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์เป็น ปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์โดยอัตถิปัจจัย วิจาร เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจารโดยอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ มหาภูตรูปเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย ... ที่ เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กาย- วิญญาณโดยอัตถิปัจจัย จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยอัตถิปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตก วิจารและวิจารโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อนโดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอัตถิปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๑๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ราคะจึง เกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ...รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้ง วิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น วิตกจึง เกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ... รูป ... เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น วิตกจึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิตกโดยอัตถิปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและจิตต- สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและกฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารโดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจาร โดยอัตถิปัจจัย (๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๑๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกโดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา ยินดีเพลิดเพลินเพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตก วิจารและวิตกจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นแจ้งโสตะ ... ฆานะ ... ชิวหา ... กาย ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยินดีเพลิดเพลิน เพราะ ปรารภความยินดีเพลิดเพลินโสตะเป็นต้นนั้น ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกจึง เกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกโดยอัตถิปัจจัย (๕) [๑๓๓] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตกโดย อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิตก โดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๑๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่ กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตกโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และ วิตกโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔) [๑๓๔] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจารโดย อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอัตถิปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๑๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย สหชาตะ ได้แก่ วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย อัตถิปัจจัย สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจาร โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและมหาภูต- รูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิตกและมหาภูตรูปเป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจารโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร วิตกและกวฬิงการาหารเป็น ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร วิตกและรูปชีวิตินทรีย์เป็น ปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๑๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและวิจารเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจาร ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจารโดย อัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๔) [๑๓๕] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจารและวิตกเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๓) [๑๓๖] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตก วิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๑๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและกวฬิงการาหารเป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีทั้งวิตกวิจาร วิตกและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัย แก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒)
นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย และอวิคตปัจจัย
[๑๓๗] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย (นัตถิปัจจัยและวิคตปัจจัย เหมือน กับอนันตรปัจจัย อวิคตปัจจัยเหมือนกับอัตถิปัจจัย)
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๑๓๘] เหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๒๓ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๑๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตปัจจัย มี ๓๐ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๒๘ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๓๐ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๒๕ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๒๑ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑๑ วาระ วิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๑ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๑๑ วาระ ฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ มัคคปัจจัย มี ๑๖ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๓๐ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๒๕ วาระ วิคตปัจจัย มี ๒๕ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๓๐ วาระ
(ฆฏนาก็เหมือนกับกุสลติกะ ผู้รู้พึงนับปัญหาวารอย่างนี้)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๓๙] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและ วิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๑๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมม- ปัจจัย (๖) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มี วิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัยและกัมมปัจจัย (๗) [๑๔๐] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร และที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และกัมมปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๖) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๑๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๑๔๑] สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้ง วิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียง วิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ ปุเรชาตปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและ ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ ปุเรชาตปัจจัย (๕) [๑๔๒] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มี ทั้งวิตกและวิจาร มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีทั้ง วิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจาร มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๔) [๑๔๓] สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๒๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ ปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาต- ปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ ปุเรชาตปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๕) [๑๔๔] สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจารโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และ ปัจฉาชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยสหชาตปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีทั้งวิตกวิจารและที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๖) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๒๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกและวิจาร มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ (๑) สภาวธรรมที่มีทั้งวิตกวิจารที่ไม่มีวิตกมีเพียงวิจารและที่ไม่มีทั้งวิตกวิจารเป็น ปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่มีทั้งวิตกและวิจาร มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒)
ปัจจนียุทธาร จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๑๔๕] นเหตุปัจจัย มี ๓๕ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๓๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๓๕ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๓๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๓๕ วาระ นสหชาตปัจจัย มี ๒๙ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๙ วาระ นนิสสยปัจจัย มี ๒๙ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓๔ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๓๕ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓๕ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๓๕ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓๕ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๓๕ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๓๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๒๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอินทรียปัจจัย มี ๓๕ วาระ นฌานปัจจัย มี ๓๕ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๓๕ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๙ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๗ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๒๗ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๓๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๓๕ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๒๗ วาระ
(ผู้รู้ เมื่อจะนับปัจจนียะ พึงนับบทเหล่านี้)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๑๔๖] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๒๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอาหารปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๗ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ (การนับอนุโลมปัจจนียะ พึงนับโดยเหตุนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๑๔๗] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๒๓ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๓๐ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒๘ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๓๐ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๒๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๖. วิตักกติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปากปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๑๖ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๓๐ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๒๕ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๓๐ วาระ
(พึงจำแนกปัจจนียานุโลมโดยเหตุนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ
วิตักกติกะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๑๒๕}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๔๘-๑๒๕. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=41&siri=5              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7], [8], [9], [10], [11], [12], [13], [14], [15], [16], [17], [18], [19], [20], [21], [22], [23], [24], [25], [26], [27], [28].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=41&A=1163&Z=3365                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=118              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=118&items=347              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=118&items=347                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :