ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับภาษาไทย   บาลีอักษรไทย   บาลีอักษรโรมัน 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้า
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
             [๑๗๓๖] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และ
อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏ-
*ฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ
             [๑๗๓๗] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
โดยอัตถิปัจจัย
             มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย
             ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
             สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ
             ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา พิจารณาโสตะ ฯลฯ กาย รูป โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัย
แก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพยายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย จักขายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย
             กวฬิงการาหาร ๑- เป็นปัจจัยแก่กายนี้
             รูปชีวิตินทรีย์ ๒- เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๓๘] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
โดยอัตถิปัจจัย
             มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่บุคคลยินดี เพลิดเพลินจักษุ ปรารภจักษุนั้น
มีราคะ โทมนัส เกิดขึ้น ยินดีหทยวัตถุ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเล-
*สิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๓๙] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม
โดยอัตถิปัจจัย
             มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐ-
*อสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๐] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม
โดยอัตถิปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดย
อัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๑] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
โดยอัตถิปัจจัย
             มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต
@๑. บาลีตก คำว่า อาหาร  ๒. บาลีตก คำว่า อินทริย ข้างหน้า ซึ่งหมายความว่า ที่เป็นอาหาร
@ที่เป็นอินทริย ได้แก่ ...
             ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
*สมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย
             ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๒] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
*สมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๓] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย
             ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม และมหาภูตรูป
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย
             ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม และกวฬิงการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย
             ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และรูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๔] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต
             ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๕] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย
แก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต
             ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ
             [๑๗๔๖] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย
แก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย
             ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และมหาภูตรูป เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย
             ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และกวฬิงการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย
             ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และรูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๗] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย
นัตถิปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย วิคตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อวิคตปัจจัย
             [๑๗๔๘]	ในเหตุปัจจัย	มีวาระ ๗
                          ในอารัมมณปัจจัย	มี "   ๖
                          ในอธิปติปัจจัย	มี "   ๘
                          ในอนันตรปัจจัย	มี "   ๗
                          ในสมนันตรปัจจัย	มี "   ๗
                          ในสหชาตปัจจัย	มี "   ๙
                          ในอัญญมัญญปัจจัย	มี "   ๓
                          ในนิสสยปัจจัย	มี "   ๑๓
                          ในอุปนิสสยปัจจัย	มี "   ๘
                          ในปุเรชาตปัจจัย	มี "   ๓
                          ในปัจฉาชาตปัจจัย	มี "   ๓
                          ในอาเสวนปัจจัย	มี "   ๓
                          ในกัมมปัจจัย	มี "   ๗
                          ในวิปากปัจจัย	มีวาระ ๔
                          ในอาหารปัจจัย	มี "   ๗
                          ในอินทริยปัจจัย	มี "   ๗
                          ในฌานปัจจัย	มี "   ๗
                          ในมัคคปัจจัย	มี "   ๗
                          ในสัมปยุตตปัจจัย	มี "   ๓
                          ในวิปปยุตตปัจจัย	มี "   ๕
                          ในอัตถิปัจจัย	มี "   ๑๓
                          ในนัตถิปัจจัย	มี "   ๗
                          ในอวิคตปัจจัย	มี "   ๗
                          ในวิคตปัจจัย	มี "   ๑๓
             [๑๗๔๙]	ในอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย	มีวาระ ๔
                          ในสหชาตปัจจัย 	กับ ฯลฯ    มีวาระ ๗
                          ในอัญญมัญญปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๓
                          ในนิสสยปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๗
                          ในวิปากปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๔
                          ในอินทริยปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๔
                          ในมัคคปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๔
                          ในสัมปยุตตปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๓
                          ในวิปปยุตตปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๓
                          ในอัตถิปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๗
             [๑๗๕๐] ปัจจัย ๕ คือ เหตุ สหชาต นิสสย อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
             ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย สัมปยุตต อัตถิ และอวิคตปัจจัย
มี ๓ วาระ
             ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาต นิสสย วิปปยุตต อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
             ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาต นิสสย วิปปยุตต อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
             ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาต อัญญมัญญ  นิสสย วิปาก อัตถิ และอวิคตปัจจัย
มี ๒ วาระ
             ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก สัมปยุตต อัตถิ และ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
             ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาต นิสสย วิปาก วิปปยุตต อัตถิ และอวิคตปัจจัย
มี ๒ วาระ
             ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก วิปปยุตต อัตถิ และ
อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
             ในกุสลัตติกะให้พิสดารแล้วอย่างไร พึงให้พิสดารอย่างนั้น
อนุโลม (จบ)
[๑๗๕๑] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปปนิสสยปัจจัย [๑๗๕๒] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปปนิสสย- *ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๑๗๕๓] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๗๕๔] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยสหชาตปัจจัย [๑๗๕๕] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปปนิสสย ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อินทริย ปัจจัย [๑๗๕๖] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาต ปัจจัย [๑๗๕๗] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอุปปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย [๑๗๕๘] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปปนิสสยปัจจัย [๑๗๕๙] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสย ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย [๑๗๖๐] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยสหชาตปัจจัย [๑๗๖๑] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น ปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย [๑๗๖๒] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น ปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต [๑๗๖๓] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย แก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต [๑๗๖๔] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย แก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย [๑๗๖๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีวาระ ๑๔ " อนันตรปัจจัย มี " ๑๔ " สมนันตรปัจจัย มี " ๑๔ " สหชาตปัจจัย มี " ๑๐ " อัญญมัญญปัจจัย มี " ๑๐ " นิสสยปัจจัย มี " ๑๐ " อุปนิสสยปัจจัย มี " ๑๓ " ปุเรชาตปัจจัย มี " ๑๒ " ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑๔ " อาเสวนปัจจัย มี " ๑๔ " กัมมปัจจัย มี " ๑๔ " วิปากปัจจัย มี " ๑๔ " อาหารปัจจัย มี " ๑๔ " อินทริยปัจจัย มี " ๑๔ " ฌานปัจจัย มี " ๑๔ " มัคคปัจจัย มี " ๑๔ " สัมปยุตตปัจจัย มี " ๑๐ " วิปปยุตตปัจจัย มี " ๘ " อัตถิปัจจัย มี " ๘ " นัตถิปัจจัย มี " ๑๔ " วิคตปัจจัย มี " ๑๔ " อวิคตปัจจัย มี " ๘ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑๔ ฯลฯ นับ- *ปัจจยนียะ ในกุสลัตติกะอย่างไร ก็พึงนับอย่างนั้น
ปัจจนียะ จบ
[๑๗๖๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ " สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัย- *ที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย ฯลฯ มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ " วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับสหชาตปัจจัย กับนิสสยปัจจัย กับอัตถิปัจจัย กับอวิคตปัจจัย มีวาระ ๗ ฯลฯ การนับอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลัดติกะได้จำแนกไว้แล้วอย่างไร พึงจำแนกอย่างนั้น
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๗๖๗] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๖ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๘ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๘ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในอาหารปัจจัย อินทริย, ฌาน, มัคคปัจจัย มีวาระ ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มีวาระ ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๑๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๗ ในวิคตปัจจัย มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๓ ในอธิปติปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๗ ฯลฯ การนับปัจจนียานุโลม ได้จำแนกไว้แล้วอย่างไร พึงจำแนกอย่างนั้น
ปัจจนียานุโลม จบ
สังกิลิฏฐัตติกะ ที่ ๕ จบ
อนุโลมติกปัฏฐาน ตอนต้น จบ
-----------------------------------------------------

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ บรรทัดที่ ๒๐๓๙๕-๒๐๖๒๘ หน้าที่ ๘๐๙-๘๑๘. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=20395&Z=20628&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=40&item=1736&items=32              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=40&item=1736&items=32&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=40&item=1736&items=32              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=40&item=1736&items=32              ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1736              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ https://84000.org/tipitaka/read/?index_40 https://84000.org/tipitaka/english/?index_40

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้า

บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]