ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับภาษาไทย   บาลีอักษรไทย   บาลีอักษรโรมัน 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้า
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
             [๑๗๓๘] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
โดยอัตถิปัจจัย
             มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่บุคคลยินดี เพลิดเพลินจักษุ ปรารภจักษุนั้น
มีราคะ โทมนัส เกิดขึ้น ยินดีหทยวัตถุ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเล-
*สิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๓๙] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม
โดยอัตถิปัจจัย
             มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐ-
*อสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๐] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม
โดยอัตถิปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดย
อัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๑] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
โดยอัตถิปัจจัย
             มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต
@๑. บาลีตก คำว่า อาหาร  ๒. บาลีตก คำว่า อินทริย ข้างหน้า ซึ่งหมายความว่า ที่เป็นอาหาร
@ที่เป็นอินทริย ได้แก่ ...
             ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
*สมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย
             ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๒] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตต-
*สมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๓] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย
             ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม และมหาภูตรูป
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย
             ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม และกวฬิงการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย
             ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และรูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๔] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต
             ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๕] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย
แก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต
             ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ
             [๑๗๔๖] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย
แก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย
             ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และมหาภูตรูป เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย
             ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และกวฬิงการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย
             ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และรูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๗๔๗] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย
นัตถิปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย วิคตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อวิคตปัจจัย
             [๑๗๔๘]	ในเหตุปัจจัย	มีวาระ ๗
                          ในอารัมมณปัจจัย	มี "   ๖
                          ในอธิปติปัจจัย	มี "   ๘
                          ในอนันตรปัจจัย	มี "   ๗
                          ในสมนันตรปัจจัย	มี "   ๗
                          ในสหชาตปัจจัย	มี "   ๙
                          ในอัญญมัญญปัจจัย	มี "   ๓
                          ในนิสสยปัจจัย	มี "   ๑๓
                          ในอุปนิสสยปัจจัย	มี "   ๘
                          ในปุเรชาตปัจจัย	มี "   ๓
                          ในปัจฉาชาตปัจจัย	มี "   ๓
                          ในอาเสวนปัจจัย	มี "   ๓
                          ในกัมมปัจจัย	มี "   ๗
                          ในวิปากปัจจัย	มีวาระ ๔
                          ในอาหารปัจจัย	มี "   ๗
                          ในอินทริยปัจจัย	มี "   ๗
                          ในฌานปัจจัย	มี "   ๗
                          ในมัคคปัจจัย	มี "   ๗
                          ในสัมปยุตตปัจจัย	มี "   ๓
                          ในวิปปยุตตปัจจัย	มี "   ๕
                          ในอัตถิปัจจัย	มี "   ๑๓
                          ในนัตถิปัจจัย	มี "   ๗
                          ในอวิคตปัจจัย	มี "   ๗
                          ในวิคตปัจจัย	มี "   ๑๓
             [๑๗๔๙]	ในอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย	มีวาระ ๔
                          ในสหชาตปัจจัย 	กับ ฯลฯ    มีวาระ ๗
                          ในอัญญมัญญปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๓
                          ในนิสสยปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๗
                          ในวิปากปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๔
                          ในอินทริยปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๔
                          ในมัคคปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๔
                          ในสัมปยุตตปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๓
                          ในวิปปยุตตปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๓
                          ในอัตถิปัจจัย	กับ ฯลฯ    มี "   ๗
             [๑๗๕๐] ปัจจัย ๕ คือ เหตุ สหชาต นิสสย อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
             ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย สัมปยุตต อัตถิ และอวิคตปัจจัย
มี ๓ วาระ
             ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาต นิสสย วิปปยุตต อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
             ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาต นิสสย วิปปยุตต อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
             ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาต อัญญมัญญ  นิสสย วิปาก อัตถิ และอวิคตปัจจัย
มี ๒ วาระ
             ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก สัมปยุตต อัตถิ และ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
             ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาต นิสสย วิปาก วิปปยุตต อัตถิ และอวิคตปัจจัย
มี ๒ วาระ
             ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก วิปปยุตต อัตถิ และ
อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
             ในกุสลัตติกะให้พิสดารแล้วอย่างไร พึงให้พิสดารอย่างนั้น
อนุโลม (จบ)
[๑๗๕๑] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปปนิสสยปัจจัย [๑๗๕๒] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปปนิสสย- *ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๑๗๕๓] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๗๕๔] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยสหชาตปัจจัย [๑๗๕๕] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปปนิสสย ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อินทริย ปัจจัย [๑๗๕๖] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาต ปัจจัย [๑๗๕๗] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอุปปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย [๑๗๕๘] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปปนิสสยปัจจัย [๑๗๕๙] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสย ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย [๑๗๖๐] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยสหชาตปัจจัย [๑๗๖๑] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น ปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย [๑๗๖๒] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น ปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต [๑๗๖๓] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย แก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต [๑๗๖๔] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย แก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย [๑๗๖๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๑๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีวาระ ๑๔ " อนันตรปัจจัย มี " ๑๔ " สมนันตรปัจจัย มี " ๑๔ " สหชาตปัจจัย มี " ๑๐ " อัญญมัญญปัจจัย มี " ๑๐ " นิสสยปัจจัย มี " ๑๐ " อุปนิสสยปัจจัย มี " ๑๓ " ปุเรชาตปัจจัย มี " ๑๒ " ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑๔ " อาเสวนปัจจัย มี " ๑๔ " กัมมปัจจัย มี " ๑๔ " วิปากปัจจัย มี " ๑๔ " อาหารปัจจัย มี " ๑๔ " อินทริยปัจจัย มี " ๑๔ " ฌานปัจจัย มี " ๑๔ " มัคคปัจจัย มี " ๑๔ " สัมปยุตตปัจจัย มี " ๑๐ " วิปปยุตตปัจจัย มี " ๘ " อัตถิปัจจัย มี " ๘ " นัตถิปัจจัย มี " ๑๔ " วิคตปัจจัย มี " ๑๔ " อวิคตปัจจัย มี " ๘ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑๔ ฯลฯ นับ- *ปัจจยนียะ ในกุสลัตติกะอย่างไร ก็พึงนับอย่างนั้น
ปัจจนียะ จบ
[๑๗๖๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ " สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัย- *ที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย ฯลฯ มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ " วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ " วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับสหชาตปัจจัย กับนิสสยปัจจัย กับอัตถิปัจจัย กับอวิคตปัจจัย มีวาระ ๗ ฯลฯ การนับอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลัดติกะได้จำแนกไว้แล้วอย่างไร พึงจำแนกอย่างนั้น
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๗๖๗] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๖ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๘ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๘ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในอาหารปัจจัย อินทริย, ฌาน, มัคคปัจจัย มีวาระ ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มีวาระ ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๑๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๗ ในวิคตปัจจัย มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๓ ในอธิปติปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๗ ฯลฯ การนับปัจจนียานุโลม ได้จำแนกไว้แล้วอย่างไร พึงจำแนกอย่างนั้น
ปัจจนียานุโลม จบ
สังกิลิฏฐัตติกะ ที่ ๕ จบ
อนุโลมติกปัฏฐาน ตอนต้น จบ
-----------------------------------------------------

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ บรรทัดที่ ๒๐๔๑๕-๒๐๖๒๘ หน้าที่ ๘๑๐-๘๑๘. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=20415&Z=20628&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=40&item=1738&items=30              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=40&item=1738&items=30&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=40&item=1738&items=30              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=40&item=1738&items=30              ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1738              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ https://84000.org/tipitaka/read/?index_40 https://84000.org/tipitaka/english/?index_40

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้า

บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]