อนันตรมูลกนัย
[๘๑๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗
" อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" สหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" อินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
" อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗
[๘๑๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย ที่มีวาระ ๗ คือ อนันตร สมนันตร อุปนิสสย
นัตถิ วิคตปัจจัย
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย ที่มีวาระ ๗ คือ ฯลฯ
" อธิปติปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" สหชาตปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" อัญญมัญญปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย ที่มีวาระ ๗ คือ ฯลฯ
" ปุเรชาตปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" ปัจฉาชาตปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" อาเสวนปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" กัมมปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" วิปากปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" อาหารปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" อินทริยปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" ฌานปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" มัคคปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" สัมปยุตตปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" วิปปยุตตปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" อัตถิปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
" อวิคตปัจจัย " ๗ คือ ฯลฯ
[๘๑๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย ที่มีวาระ ๓ คือ อนันตร สมนันตร อุปนิสสย
อาเสวน นัตถิ วิคตปัจจัย
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย ที่มีวาระ ๓ คือ ฯลฯ
" อธิปติปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
" สหชาตปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
" อัญญมัญญปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
" นิสสยปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
" ปุเรชาตปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
" ปัจฉาชาตปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
" กัมมปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
" วิปากปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
" อาหารปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย ที่มีวาระ ๓ คือ ฯลฯ
" ฌานปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
" มัคคปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
" สัมปยุตตปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
" วิปปยุตตปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
" อัตถิปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
" อวิคตปัจจัย " ๓ คือ ฯลฯ
[๘๑๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย ที่มีวาระ ๑ คือ อนันตร สมนันตร อุปนิสสย
กัมม นัตถิ วิคตปัจจัย
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย ที่มีวาระ ๑ คือ ฯลฯ
" อธิปติปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" สหชาตปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" อัญญมัญญปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" นิสสยปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" ปุเรชาตปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" ปัจฉาชาตปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" อาเสวนปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" วิปากปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" อาหารปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" อินทริยปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" ฌานปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" มัคคปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" สัมปยุตตปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" วิปปยุตตปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" อัตถิปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
" อวิคตปัจจัย " ๑ คือ ฯลฯ
อนันตรมูลกนัย จบ
เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ บรรทัดที่ ๑๐๐๑๖-๑๐๐๙๔ หน้าที่ ๓๙๔-๓๙๖.
http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=10016&Z=10094&pagebreak=0
http://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=40&item=815&items=4
อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :-
http://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=40&item=815&items=4&mode=bracket
อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=40&item=815&items=4
อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :-
http://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=40&item=815&items=4
ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=815
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐
http://84000.org/tipitaka/read/?index_40
บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com