ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับภาษาไทย   บาลีอักษรไทย   บาลีอักษรโรมัน 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน
             [๑๘๘๘] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยเหตุปัจจัย
             คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
*สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย
             ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย
             [๑๘๘๙] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
             คือ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุที่เป็นอุปปันนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความ
เป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุนั้น ราคะ
เกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ
             โสตะที่เป็นอุปปันนธรรม ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง
โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น
             บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
             ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่อาวัชชนะ โดย
อารัมมณปัจจัย
             [๑๘๙๐] อนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
             คือ รูปที่เป็นอนุปปันนธรรม ฯลฯ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ บุคคลพิจารณา
เห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปปันนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความ
เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น
             ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่
อนาคตตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย
             [๑๘๙๑] อุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
             คือ จักขุที่เป็นอุปปาทิธรรม ฯลฯ กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ
หทัยวัตถุ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาทิธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดย
ความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา โทมนัส เกิดขึ้น
             ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ ฯลฯ แก่
อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย
             [๑๘๙๒] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอธิปติปัจจัย
             มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ
             ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำจักขุที่เป็นอุปปันนธรรมให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักขุนั้น ฯลฯ ทิฏฐิ เกิดขึ้น
             โสตะที่เป็นอุปปันนธรรม ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
เกิดขึ้น ฯลฯ
             ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏรูปฐานทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย
             [๑๘๙๓] อนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอธิปติปัจจัย
             มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ รูปที่เป็นอนุปันนธรรม ฯลฯ เสียง กลิ่น
รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปันนธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
แล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำรูปเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิเกิดขึ้น
             [๑๘๙๔] อุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอธิปติปัจจัย
             มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ จักขุที่เป็นอุปปาทิธรรม ฯลฯ กาย รูป ฯลฯ
โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาทิธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น
             [๑๘๙๕] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยสหชาตปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย
โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยสหชาต-
*ปัจจัย
             ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป
ทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยสหชาต-
*ปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยสหชาตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยสหชาตปัจจัย มหาภูตรูป
๒ ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย โดยสหชาต
ปัจจัย พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
             ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป-
*ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย โดยสหชาตปัจจัย
             [๑๘๙๖] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัญญมัญญปัจจัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
             ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุ
โดยอัญญมัญญปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยอัญญมัญญปัจจัย
หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยอัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ
อาหารมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
             ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยอัญญ-
*มัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ
             [๑๘๙๗] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยนิสสยปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย
โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ
             ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์-
*ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
             ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม โดยนิสสยปัจจัย
             [๑๘๙๘] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
             มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
             ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยฤดูที่เป็นอุปปันนธรรม แล้วยัง
ฌานให้เกิดขึ้น วิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ
             บุคคลเข้าไปอาศัยโภชนะที่เป็นอุปปันนธรรม ฯลฯ เสนาสนะ แล้วยังฌานให้เกิดขึ้น
วิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ
             ฤดูที่เป็นอุปปันนธรรม ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
อุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสย-
*ปัจจัย
             [๑๘๙๙] อนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
             มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
             ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลปรารถนาวรรณสมบัติที่เป็นอนุปันนธรรม
ย่อมให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม
             บุคคลปรารถนาสัททสมบัติที่เป็นอนุปปันนธรรม ฯลฯ คันธสมบัติ รสสมบัติ
โผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปปันนธรรม ย่อมให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ
อุโบสถกรรม ฯลฯ วรรณสมบัติที่เป็นอนุปปันนธรรม ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปปันนธรรม
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค
แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย
             [๑๙๐๐] อุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
             มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
             ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลปรารถนาจักขุสมบัติที่เป็นอุปปาทิธรรม
ย่อมให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ
             บุคคลปรารถนาโสตสมบัติที่เป็นอุปปาทิธรรม ฯลฯ กายสมบัติ วรรณสมบัติ คันธ-
*สมบัติ ฯลฯ รสสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาทิธรรม ย่อม
ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ
             จักขุสมบัติที่เป็นอุปปาทิธรรม ฯลฯ กายสมบัติ วรรณสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพสมบัติ
ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่
สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย
             [๑๙๐๑] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย
             มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต
             ที่เป็น อารัมมณปเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นหทัยวัตถุ โดย
ความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะ เกิดขึ้น โทมนัส เกิดขึ้น
             บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
             รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
โดยปุเรชาตปัจจัย
             ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย
             [๑๙๐๒] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย
             คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน
โดยปัจฉาชาตปัจจัย
             [๑๙๐๓] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยกัมมปัจจัย
             คือ เจตนาที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย
             ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป
ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย
             [๑๙๐๔] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยวิปากปัจจัย
             คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
*สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ
             ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป
ทั้งหลาย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปากปัจจัย
             [๑๙๐๕] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอาหารปัจจัย
             คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
*สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอาหารปัจจัย
             ในปฏิสนธิขณะ กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอาหารปัจจัย
             [๑๙๐๖] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอินทริยปัจจัย
             คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
*สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย
             ในปฏิสนธิขณะ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอินทริยปัจจัย
             [๑๙๐๗] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัย
โดยมัคคปัจจัย เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยวิปปยุตตปัจจัย
             มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต
             ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
*สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย
             ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย
โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย
โดยวิปปยุตตปัจจัย
             ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ
หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย
             ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย
             [๑๙๐๘] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย
             ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
*สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ
             ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ
อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
             ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์
ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น
             บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
             รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
โดยอัตถิปัจจัย
             จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม โดยอัตถิปัจจัย
             ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย
             [๑๙๐๙] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอวิคตปัจจัย
             [๑๙๑๐]	ในเหตุปัจจัย	มีวาระ ๑
                          ในอารัมมณปัจจัย	มี "     ๓
                          ในอธิปติปัจจัย	มี "     ๓
                          ในสหชาตปัจจัย	มี "     ๑
                          ในอัญญมัญญปัจจัย	มี "     ๑
                          ในนิสสยปัจจัย	มี "     ๑
                          ในอุปนิสสยปัจจัย	มี "     ๓
                          ในปุเรชาตปัจจัย	มี "     ๑
                          ในปัจฉาชาตปัจจัย
                          ในกัมมปัจจัย
                          ในวิปากปัจจัย
                          ในอาหารปัจจัย
                          ในอินทริยปัจจัย
                          ในฌานปัจจัย
                          ในมัคคปัจจัย
                          ในสัมปยุตตปัจจัย
                          ในวิปปยุตตปัจจัย
                          ในอัตถิปัจจัย
                          ในอวิคตปัจจัย	มี "     ๑
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๙๑๑] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย [๑๙๑๒] อนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๙๑๓] อุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๙๑๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๓ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๒
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๙๑๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๙๑๖] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาร จบ
อุปันนัตติกะ ที่ ๑๗ จบ
อตีตัตติกะ
ปัญหาวาร
[๑๙๑๗] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐาน- *รูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๙๑๘] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ แล้วพิจารณา พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ออกจากฌาน พิจารณาฌาน พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว พิจารณาเห็นจักขุที่เป็นอตีตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น โสตะที่เป็นอตีตธรรม ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความ เป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย อากิญจัญ- *ญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพ- *นิวาสานุสสติ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๑๙] อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ จักขุที่เป็นอนาคตธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๒๐] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ จักขุที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๒๑] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปันนธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว พิจารณา ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา จักขุที่เป็นอตีตธรรม ฯลฯ กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรมให้หนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๙๒๒] อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปันนธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ จักขุที่เป็นอนาคตธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๙๒๓] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปันนธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ จักขุที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักขุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย [๑๙๒๔] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น ปัจจุปปันนธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู เป็น ปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล ผล เป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัย แก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๑๙๒๕] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยสมนันตรปัจจัย เหมือน กับอนันตรปัจจัย [๑๙๒๖] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัยโดย นิสสยปัจจัย ฯลฯ [๑๙๒๗] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ฯลฯ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอตีตธรรม แล้ว ให้ทาน ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอตีตธรรม ฯลฯ สัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกายแล้ว ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์ ศรัทธาที่เป็นอตีตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา ทุกข์ทางกาย ฯลฯ สุขทางกาย เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๙๒๘] อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลปรารถนาจักขุสมบัติที่เป็นอนาคตธรรม โสตสมบัติ ฯลฯ ฆานสมบัติ ชิวหาสมบัติ กายสมบัติ วรรณสมบัติ สัททสมบัติ คันธ- *สมบัติ รสสมบัติ ฯลฯ ปรารถนาโผฏฐัพพสมบัติ ปรารถนาขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรมแล้ว ให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ จักขุสมบัติ ฯลฯ วรรณสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๙๒๙] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยฤดูที่เป็นปัจจุปปันนธรรมแล้ว ยังฌานให้เกิดขึ้น วิปัสสนา ฯลฯ บุคคลเข้าไปอาศัยโภชนะที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ยังฌานให้เกิด ขึ้น ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฤดูที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ที่เป็นปัจจุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๙๓๐] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นหทัยวัตถุ โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย [๑๙๓๑] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๙๓๒] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น ปัจจุปปันนธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอาเสวนปัจจัย [๑๙๓๓] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก ขันธ์ที่เป็นปัจจุปปันนธรรม และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๙๓๔] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย [๑๙๓๕] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัย แก่หทัยวัตถุ โดยวิปากปัจจัย [๑๙๓๖] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดย มัคคปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย สัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๙๓๗] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอัตถิปัจจัย เหมือนกับอัตถิปัจจัย ในอุปปันนัตติกะ [๑๙๓๘] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย โดย วิคตปัจจัย [๑๙๓๙] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอวิคตปัจจัย [๑๙๔๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๓ ในอนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสหชาตปัจจัย ในอัญญมัญญปัจจัย ในนิสสยปัจจัย มีวาระ ๑ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย ในปัจฉาชาตปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย มีวาระ ๑ ในกัมมปัจจัย มี " ๒ ในวิปากปัจจัย ในอาหารปัจจัย มีวาระ ๑ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๙๔๑] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย กัมมปัจจัย [๑๙๔๒] อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็น ปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๙๔๓] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดย อินทริย ปัจจัย [๑๙๔๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๒
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๙๔๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๙๔๖] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจฉาชาตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑
ในบทเหล่านี้ มีวาระอย่างละ ๑ เท่านั้น
ในอวิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๑
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาร จบ
อตีตัตติกะ ที่ ๑๘ จบ
อตีตารัมมณัตติกะ
ปฏิจจวาร
[๑๙๔๗] อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ [๑๙๔๘] อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๙๔๙] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะ- *เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๙๕๐] อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย ในอธิปติปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญ- *ปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย ก็ดี ในอาเสวนปัจจัย ก็ดี ปฏิสนธิ ไม่มี เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ หัวข้อปัจจัย ๓ พึงใส่ให้ เต็ม พึงกระทำ ปวัตติ ปฏิสนธิ เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทริยปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย [๑๙๕๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๓ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๓ ในวิคตปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
[๑๙๕๒] อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ [๑๙๕๓] อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ [๑๙๕๔] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่- *ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม [๑๙๕๕] อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติ- *ปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย ในอนุโลม [๑๙๕๖] อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ- *ปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๙๕๗] อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ- *ปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๙๕๘] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่- *ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๙๕๙] อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ- *ปัจฉาชาตปัจจัย ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย เหมือนกับ ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม [๑๙๖๐] อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ- *กัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม [๑๙๖๑] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณ- *ธรรม [๑๙๖๒] อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปาก- *ปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย ปฏิสนธิ ไม่มี [๑๙๖๓] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่- *ใช่เพราะฌานปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๙๖๔] อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะมัคค- *ปัจจัย คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะเหมือนกับที่ไม่ใช่เหตุ ปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ โมหะ ไม่มี [๑๙๖๕] อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ วิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๙๖๖] อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ วิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๙๖๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียะ จบ
[๑๙๖๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๙๖๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
สหชาตวารก็ดี ปัจจนียวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี
สัมปยุตตวารก็ดี เหมือนกับ ปฏิจจวาร
ปัญหาวาร
[๑๙๗๐] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย เหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ทั้งหลาย [๑๙๗๑] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย เหตุปัจจัย [๑๙๗๒] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดย เหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย [๑๙๗๓] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอตีตธรรม พิจารณาเนวสัญญานาสัญญยตนะ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุส- *สติญาณ ฯลฯ พิจารณายถากัมมุปคญาณ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอตีตารัมมณธรรมกิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ ขันธ์นั้น ราคะ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๔] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอนาคตธรรม พิจารณาเนวสัญญานาสัญญา- *ยตนะ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมุปคญาณ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน ยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เกิดขึ้น โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๕] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปันนธรรม ซึ่งเป็นอตีตารัมมณ- *ธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปันนธรรม ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริย- *ญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๖] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมปัจจัย [๑๙๗๗] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณ ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม พิจารณากิเลส ที่ข่มแล้ว กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น โทมนัส เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๘] อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นอนาคตา- *รัมมณธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโต- *ปริยญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๙๗๙] ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนรัมมณธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นปัจจุป- *ปันนารัมมณธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ เจโตปริยญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ บรรทัดที่ ๑๓๐๔๒-๑๓๖๖๘ หน้าที่ ๕๕๔-๕๘๐. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=13042&Z=13668&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=41&item=1888&items=92&mode=bracket              อ่านโดยใช้เนื้อความเป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=41&item=1888&items=92              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=41&item=1888&items=92&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=41&item=1888&items=92&mode=bracket              ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1888              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ https://84000.org/tipitaka/read/?index_41 https://84000.org/tipitaka/english/?index_41

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]