บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
ฉบับภาษาไทย บาลีอักษรไทย บาลีอักษรโรมัน |
ปัญหาวาร [๒๐๒] อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิ ขณะ ฯลฯ อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์- *และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๒๐๓] สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ รูปที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น ด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ บุคคล พิจารณาซึ่ง กุศลกรรมนั้น บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลาย ที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน บุคคลออกจากฌาน พิจารณาฌาน พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณา นิพพาน นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่ อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ จักขุ ฯลฯ กาย เสียง หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสน- *ธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลฟังเสียง ด้วยทิพพโสตธาตุ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดย เจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญ- *จัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ สัททายตนะ เป็นปัจจัย แก่โสตวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๒๐๔] สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยอธิปติ ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลกระทำรูปที่เป็น อนิทัสสนธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำความยินดีนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กุศลกรรมทั้งหลาย ที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก แน่น ฯลฯ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดย อธิปติปัจจัย จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ กระทำความยินดีนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดย อธิปติปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยอธิปติปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม โดยอธิปติปัจจัย [๒๐๕] อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค เนวสัญญา- *นาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๒๐๖] อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยสมนันตร- *ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย มี ๓ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย [๒๐๗] สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลปรารถนาซึ่งความถึงพร้อมแห่ง วรรณะ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ความถึงพร้อมแห่งวรรณะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๒๐๘] สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยปุเรชาต- *ปัจจัย คือ รูปที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพพจักขุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลฟังเสียง ด้วยทิพพโสตธาตุ สัททายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อนิทัสสนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ได้แก่รูปายตนะ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยปุเรชาต- *ปัจจัย [๒๐๙] สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยปัจฉาชาต- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายที่เป็นอนิทัสสนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายที่เป็นสนิทัสสนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่ กายที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาต- *ปัจจัย [๒๑๐] อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยอาเสวน- *ปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ [๒๑๑] อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยกัมม- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่เจตนาที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป- *ยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็น อนิทัสสนธรรม โดยกัมมปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก พึงให้พิสดาร อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก พึงให้พิสดาร [๒๑๒] อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยวิปาก- *ปัจจัย มี ๓ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอาหารปัจจัย มี ๓ นัย พึงกระทำกวฬิงการาหาร ในหัวข้อปัจจัยแม้ทั้ง ๓ ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอินทริยปัจจัย มี ๓ นัย พึงกระทำรูปชีวิตินทรีย์ ในหัวข้อปัจจัยแม้ทั้ง ๓ ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ นัย [๒๑๓] อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยวิปปยุตต- *ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่หทัยวัตถุ โดยวิปปยุตตปัจจัย หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ เป็นอนิทัสสนธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัย แก่กายที่เป็นอนิทัสสนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นสนิทัสสนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๒๑๔] สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดย- *อัตถิปัจจัย คือ รูปที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพจักขุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ ที่เป็นปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น บุคคลฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ สัททายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัย แก่กายวิญญาณ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสน- *ธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็น ปัจจัยแก่กายที่เป็นอนิทัสสนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนิทัสสนธรรมนี้ โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็น ปัจจัยแก่ กฏัตตรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดยอัตถิปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัย แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยอัตถิปัจจัย พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ สนิทัสสนรูป โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัย แก่กายที่เป็นสนิทัสสนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นสนิทัสสนธรรมนี้ โดยอัตถิปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยอัตถิปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยอัตถิ ปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม โดยอัตถิปัจจัย พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย ที่เป็นสนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม โดยอัตถิปัจจัย สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือปุเรชาต ได้แก่รูปายตนะและหทัยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดยอัตถิปัจจัย รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยอัตถิ- *ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนัตถิปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยวิคตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอวิคตปัจจัย [๒๑๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒ ในอธิปติปัจจัย มี " ๔ ในอนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๑ ในสหชาตปัจจัย มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๑ ในนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๑ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๓ ในอาหารปัจจัย มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย มี " ๓ ในฌานปัจจัย มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๑ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๑ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย มี " ๕ ในนัตถิปัจจัย มี " ๑ ในวิคตปัจจัย มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย มี " ๕พึงนับอย่างนี้ อนุโลม จบ [๒๑๖] สนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย อนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนธรรม และอนิทัสสนธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย สนิทัสสนธรรมและอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๒๑๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๔ปัจจนียะ จบ [๒๑๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓อนุโลมปัจจนียะ จบ [๒๑๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๒ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ปัจจนียานุโลม จบ สนิทัสสนทุกะ จบ เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ บรรทัดที่ ๓๔๘๓-๓๘๒๔ หน้าที่ ๑๔๓-๑๕๖. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=42&A=3483&Z=3824&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=42&item=202&items=18 อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=42&item=202&items=18&mode=bracket อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=42&item=202&items=18 อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=42&item=202&items=18 ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=202 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ https://84000.org/tipitaka/read/?index_42 https://84000.org/tipitaka/english/?index_42
บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]