บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ | |
ฉบับภาษาไทย บาลีอักษรไทย บาลีอักษรโรมัน |
ปัจจยวาร [๕๓๔] คันถสัมปยุตตธรรม อาศัยคันถสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับ ปฏิจจวาร คันถวิปปยุตตธรรม อาศัยคันถวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นคันถวิปปยุตตธรรม ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย หทัยวัตถุ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถวิปปยุตตธรรม อาศัย หทัยวัตถุ คันถสัมปยุตตธรรม อาศัยคันถวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ สัมปยุตต- *ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยปฏิฆะ คันถสัมปยุตตธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม อาศัยคันถวิปปยุตต ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตต- *สมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐาน รูป อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยปฏิฆะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และ โลภะ อาศัยหทัยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส และปฏิฆะ อาศัย หทัยวัตถุ คันถสัมปยุตตธรรม อาศัยคันถสัมปยุตตธรรม และคันถวิปปยุตต ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคต วิปปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ และปฏิฆะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัส และหทัยวัตถุ และ ปฏิฆะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ คันถวิปปยุตตธรรม อาศัยคันถสัมปยุตตธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และโลภะ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส และปฏิฆะ โลภะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่ สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ ปฏิฆะ อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส และหทัยวัตถุ คันถสัมปยุตตธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม อาศัยคันถสัมปยุตตธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม และ หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถ- *สัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และโลภะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัส และปฏิฆะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ และโลภะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๓ และปฏิฆะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโทมนัส และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯฯลฯ [๕๓๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๙ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙ ในวิปากปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๙ ในอวิคตปัจจัย มี " ๙ [๕๓๖] คันถวิปปยุตตธรรม อาศัยคันถวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย คือ อาศัยคันถวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อเหตุกปฏิสนธิ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัย กายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัย หทัยวัตถุ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทัยวัตถุฯลฯ [๕๓๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๑ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓ [๕๓๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ พึงนับอย่างที่กล่าวมาแล้ว [๕๓๙] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑แม้นิสสยวาร ก็เหมือนกับ ปัจจยวาร เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ บรรทัดที่ ๙๗๗๔-๙๘๖๓ หน้าที่ ๓๙๙-๔๐๓. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=42&A=9774&Z=9863&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=42&item=534&items=6 อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=42&item=534&items=6&mode=bracket อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=42&item=534&items=6 อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=42&item=534&items=6 ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=42&i=534 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๒ https://84000.org/tipitaka/read/?index_42 https://84000.org/tipitaka/english/?index_42
บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]