ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับภาษาไทย   บาลีอักษรไทย   บาลีอักษรโรมัน 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้า
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
             [๘๖๘] สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
             มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
             ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยราคะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์
             บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์
             ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา โดย
อุปนิสสยปัจจัย.
             สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
             มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
             ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยราคะแล้วให้ทาน ศีล ฯลฯ
อุโบสถกรรม ฌาน วิปัสสนา มรรค อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
             บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
             ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย
แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย
             อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
             มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
             ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น
             บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฤดู โภชนะ ฯลฯ
เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
             ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่
ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย.
             อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
             มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
             ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ
             บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์
             ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสย-
*ปัจจัย.
             [๘๖๙] อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย
             มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต.
             ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นโดย
ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
             บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
             รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ.
             ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณกายายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรณธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย.
             อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย
             มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต.
             ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่ง
หทัยวัตถุ เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น ราคะ เกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น. ที่เป็นวัตถุ-
*ปุเรชาต ได้แก่ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย.
             ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยปัจฉาชาตปัจจัย  มี ๒ นัย
             ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอาเสวนปัจจัย   มี ๒ นัย.
             [๘๗๐] สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยกัมมปัจจัย
             คือ เจตนาที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย.
พึงกระทำมูล
มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย.
พึงกระทำมูล
ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก. ที่เป็นสหชาต ฯลฯ. ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยวิปากปัจจัย มี ๑ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอาหารปัจจัย มี ๔ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอินทริยปัจจัย มี ๔ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยฌานปัจจัย มี ๔ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย มี ๔ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ นัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับอรูปทุกะ. [๘๗๑] สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม และอรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. จักขุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งหทัยวัตถุ เพราะปรารภจักขุเป็นต้น ราคะ เกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย. สรณธรรม และอรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต. สรณธรรม และอรณธรรม เป็นปัจจัย แก่อรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์. ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรม และกวฬิงการาหาร เป็นปัจจัย แก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย. ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัย แก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย. [๘๗๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๔ ในอธิปติปัจจัย มี " ๕ ในอนันตรปัจจัย มี " ๔ ในสมนันตรปัจจัย มีวาระ ๔ ในสหชาตปัจจัย มี " ๕ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๒ ในนิสสยปัจจัย มี " ๗ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๔ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๒ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๒ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒ ในกัมมปัจจัย มี " ๔ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๔ ในอินทริยปัจจัย มี " ๔ ในฌานปัจจัย มี " ๔ ในมัคคปัจจัย มี " ๔ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๒ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย มี " ๗ ในนัตถิปัจจัย มี " ๔ ในวิคตปัจจัย มี " ๔ ในอวิคตปัจจัย มี " ๗ [๘๗๓] สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม และอรณธรรม โดยสหชาตปัจจัย. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย. สรณธรรม และอรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย โดยปุเรชาตปัจจัย. สรณธรรม และอรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม โดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย ปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย. [๘๗๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๖ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๗ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๔. [๘๗๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔. [๘๗๖] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔.
พึงถือเอาอนุโลมมาติกา.
ในอวิคตปัจจัย กับปัจจัย ที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗.
สรณทุกะ จบ
อนุโลมทุกปัฏฐาน จบ
-----------------------------------------------------

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ บรรทัดที่ ๑๔๕๓๖-๑๔๖๙๒ หน้าที่ ๕๖๘-๕๗๔. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=14536&Z=14692&pagebreak=0 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=43&item=868&items=9              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=43&item=868&items=9&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=43&item=868&items=9              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=43&item=868&items=9              ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=868              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ https://84000.org/tipitaka/read/?index_43 https://84000.org/tipitaka/english/?index_43

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้า

บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]