สนิทัสสนทุกกุสลัตติกะ
ปฏิจจวาร
[๑๐๘๔] กุศลธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยกุศลธรรมที่เป็น
อนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
[๑๐๘๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๑
ในอวิคตปัจจัย มี " ๑
แม้ในปัญหาวาร ก็มีหัวข้อปัจจัย ๑ ทุกปัจจัย
ปฏิจจวาร
[๑๐๘๖] อกุศลธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยอกุศลธรรมที่เป็น
อนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
[๑๐๘๗] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๑
ในอวิคตปัจจัย มี " ๑
แม้ในปัญหาวาร ก็มีหัวข้อปัจจัย ๑ ทุกปัจจัย
ปฏิจจวาร
[๑๐๘๘] อัพยากตธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม อาศัยอัพยากตธรรม
ที่เป็นอนิทัสสนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
[๑๐๘๙] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๑
ในอธิปติปัจจัย มี " ๑
ในอวิคตปัจจัย มี " ๓
[๑๐๙๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓
สหชาตวารก็ดี ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตต-
*วารก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาร
ปัญหาวาร
[๑๐๙๑] อัพยากตธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากต-
*ธรรม ที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดยเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๑๐๙๒] อัพยากตธรรมที่เป็นสนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากต-
*ธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
อัพยากตธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรมที่เป็น
อนิทัสสนธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
[๑๐๙๓] อัพยากตธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากต-
*ธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดยอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ
อัพยากตธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรมที่เป็น
อนิทัสสนธรรม และอัพยากตธรรมที่เป็นสนิทัสสนธรรม โดยอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ มี ๓ นัย
[๑๐๙๔] ในอนันตรปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑ ฯลฯ
ในสหชาตปัจจัย มี " ๓
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๑
ในนิสสยปัจจัย มี " ๓
[๑๐๙๕] อัพยากตธรรมที่เป็นสนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากต-
*ธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ
อัพยากตธรรมที่เป็นอนิทัสสนธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรมที่เป็น
อนิทัสสนธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูป-
*นิสสยะ ฯลฯ
[๑๐๙๖] ในปุเรชาตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓
ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓
ในอาเสวนปัจจัย มี " ๑
ในกัมมปัจจัย มี " ๓
ในวิปากปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๓
ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๑
ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๓
ในอัตถิปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๕
ในนัตถิปัจจัย มี " ๑
สนิทัสสนทุกกุสลัตติกะ จบ
อัปปัจจยะก็ดี อสังขตะก็ดี สนิทัสสนะก็ดี ย่อมไม่ได้
เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ บรรทัดที่ ๕๕๘๒-๕๖๔๘ หน้าที่ ๒๓๒-๒๓๕.
http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=44&A=5582&Z=5648&pagebreak=0
http://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=44.1&item=1084&items=13
อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :-
http://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=44.1&item=1084&items=13&mode=bracket
อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=44.1&item=1084&items=13
อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :-
http://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=44.1&item=1084&items=13
ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44.1&i=1084
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔
http://84000.org/tipitaka/read/?index_44
บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com