ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับภาษาไทย   บาลีอักษรไทย   บาลีอักษรโรมัน 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๑ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
กุสลัตติกเหตุทุกะ
[๑] เหตุธรรมที่เป็นกุศล อาศัยเหตุธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้นเพราะเหตุ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย [๒] เหตุธรรมที่เป็นกุศล อาศัยเหตุธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะ อารัมมณปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย [๓] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๓ ในอนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มี " ๓

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๔๑๘.

ในอัญญมัญญปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓ [๔] เหตุธรรมที่เป็นกุศล อาศัยเหตุธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะอธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ อธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต อาศัยเหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย [๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ [๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ [๗] ในเหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในสหชาตวารก็ดี ปัจจยวารก็ดี นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี มีหัวข้อปัจจัย ๓ ทุกปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๔๑๙.

[๘] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดยเหตุ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยเหตุปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย เหตุปัจจัย [๙] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย มี ๓ นัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย [๑๐] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย อธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอธิปติปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยอธิปติ- *ปัจจัย มี ๓ นัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอธิปติ- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อธิปติปัจจัย ฯลฯ

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๔๒๐.

เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอธิปติ- *ปัจจัยมี ๓ นัย [๑๑] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย อนันตรปัจจัย มี ๒ นัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอนันตร- *ปัจจัย มี ๒ นัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อนันตรปัจจัย [๑๒] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย สหชาตปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยสหชาต- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอัพยากฤต โดยสหชาตปัจจัย อัญญมัญญนิสสยปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย [๑๓] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดยอุป- *นิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยอุป- *นิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอุป- *นิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดยอุป- *นิสสยปัจจัย

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๔๒๑.

เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอัพยากฤต โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอัพยากฤต โดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นกุศล โดย อุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม ที่เป็นอกุศล โดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๔] เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยวิปากปัจจัย [๑๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙ ในอธิปติปัจจัย มี " ๗ ในอนันตรปัจจัย มี " ๕ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๕ ในสหชาตปัจจัย มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอินทริยปัจจัย มี " ๒ ในมัคคปัจจัย มี " ๒ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย มี " ๓

--------------------------------------------------------------------------------------------- หน้าที่ ๔๒๒.

ในนัตถิปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๕ ในวิคตปัจจัย มี " ๕ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓ [๑๖] เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรมที่เป็นอัพยากฤต โดย อารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสย- *ปัจจัย มี ๓ นัย

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ บรรทัดที่ ๙๙๔๔-๑๐๐๗๙ หน้าที่ ๔๑๗-๔๒๒. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=44&A=9944&Z=10079&pagebreak=1 https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=44.2&item=1&items=16&pagebreak=1              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=44.2&item=1&items=16&pagebreak=1&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=44.2&item=1&items=16&pagebreak=1              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :- https://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=44.2&item=1&items=16&pagebreak=1              ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=44.2&i=1              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๔ https://84000.org/tipitaka/read/?index_44 https://84000.org/tipitaka/english/?index_44

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วไม่แสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]