อนุโลมปัจจนียติกปัฏฐาน
กุสลัตติกนกุสลัตติกะ
[๑] ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์ทั้งหลาย
ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล
ธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต อาศัยธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล
ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล และธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต อาศัยธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศล
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์ทั้งหลาย มี ๕ นัย
[๒] ธรรมไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอกุศลขันธ์ทั้งหลาย
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล
ธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย มี ๕ นัย
[๓] ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากอัพยากฤต และกิริยา-
*อัพยากฤต
ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย
ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ วิบากอัพยากฤต ปฏิสนธิ มหาภูตรูป
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ วิบากอัพยากฤต กิริยาอัพยากฤต ฯลฯ มี ๓ นัย
[๔] ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่เป็นกุศล และธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์ และมหาภูตรูป
ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นกุศล และธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นกุศล และธรรมที่เป็น
อัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
[๕] ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล และธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล และธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล และธรรมที่เป็น
อัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
จิตตสมุฏฐานรูปอย่างเดียวที่ควรจำแนกในที่นี้
พึงให้จัดวาระเป็น ๑๙
[๖] ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต อาศัยธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล และธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต อาศัยธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย
[๗] ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย
[๘] ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย
[๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
ในอธิปติปัจจัย มี " ๑๙
ในอนันตรปัจจัย มี " ๙
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙
ในสหชาตปัจจัย มี " ๑๙
ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๙
[๑๐] ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น
ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๑๑] ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะอารัมมณปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย
ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น ไม่ใช่
เพราะอารัมมณปัจจัย
[๑๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๑๕
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๑๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๑๕
ปัจจนียปัฏฐาน พึงให้พิสดาร แม้สหชาตวาร ก็พึงให้พิสดาร แม้ปัจจยวารก็พึงให้
พิสดาร
[๑๓] แม้ในปัจจยวาร ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๒๖
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๑๘
ในอวิคตปัจจัย มี " ๒๖
นิสสยวารก็ดี สังสัฏฐวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี เหมือนกันปฏิจจวาร
[๑๔] ธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กุศล โดยเหตุปัจจัย
ธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล โดยเหตุปัจจัย
ธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต โดยเหตุปัจจัย
ธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต โดย
เหตุปัจจัย
ธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อกุศล โดย
เหตุปัจจัย มี ๕ นัย
[๑๕] ธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล โดยเหตุปัจจัย
ธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กุศล โดยเหตุปัจจัย
ธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต โดยเหตุปัจจัย
ธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล และธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต โดย
เหตุปัจจัย
ธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อกุศล โดย
เหตุปัจจัย มี ๕ นัย
[๑๖] ธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กุศล โดยเหตุปัจจัย
ธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล โดยเหตุปัจจัย
ธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กุศล และธรรมที่ไม่ใช่อกุศล โดย
เหตุปัจจัย มี ๓ นัย
[๑๗] ธรรมที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กุศล โดยอารัมมณปัจจัย มี ๖ นัย
ธรรมที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล โดยอารัมมณปัจจัย มี ๖ นัย
ธรรมที่เป็นอัพยากฤต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤต โดยอารัมมณปัจจัย
มี ๖ นัย
[๑๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๓
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๑๘
ในอธิปติปัจจัย มี " ๑๗
ในอนันตรปัจจัย มี " ๑๖
ในสมนันตรปัจจัย มี " ๑๖
ในสหชาตปัจจัย มี " ๑๙
ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙
ในนิสสยปัจจัย มี " ๒๖
ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๑๘
ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๖
ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙
ในอาเสวนปัจจัย มีวาระ ๙
ในกัมมปัจจัย มี " ๑๓
ในวิปากปัจจัย มี " ๓
ในอาหารปัจจัย มี " ๑๓ ฯลฯ
ในมัคคปัจจัย มี " ๑๓
ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๙
ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๑๒ ฯลฯ
ในอวิคตปัจจัย มี " ๒๖
ปัญหาวารก็พึงให้พิสดาร
เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕ บรรทัดที่ ๓๓๐๗-๓๔๔๑ หน้าที่ ๑๓๓-๑๓๘.
http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=45&A=3307&Z=3441&pagebreak=0
http://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=45.2&item=1&items=18
อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :-
http://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=45.2&item=1&items=18&mode=bracket
อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item.php?book=45.2&item=1&items=18
อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน :-
http://84000.org/tipitaka/read/roman_item.php?book=45.2&item=1&items=18
ศึกษาอรรถกถานี้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=45.2&i=1
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๕
http://84000.org/tipitaka/read/?index_45
บันทึก ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึกล่าสุด ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ DhammaPerfect@yahoo.com