ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
 ฉบับหลวง   บาลีอักษรไทย    PaliRoman 
อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
อนันตรสมนันตรมูลกนัย
[๑๑๙๙] ในสมนันตรปัจจัย กับอนันตรปัจจัย มีวาระ ๗ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ [๑๒๐๐] ปัจจัย ๕ คือ อนันตร สมนันตร อุปนิสสย นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ปัจจัย ๖ คือ อนันตร สมนันตร อุปนิสสย อาเสวน นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๖ คือ อนันตร สมนันตร อุปนิสสย กัมม นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
สมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย
สหชาต อัญญมัญญ นิสสยมูลกนัย
[๑๒๐๑] ในเหตุปัจจัย กับสหชาตปัจจัย กับอัญญมัญญปัจจัย กับนิสสยปัจจัย มีวาระ ๓ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๒๐๒] ปัจจัย ๖ คือ นิสสย สหชาต อัญญมัญญ สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๗ คือ นิสสย สหชาต อัญญมัญญ วิปาก สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อุปนิสสยมูลกนัย
[๑๒๐๓] ในอารัมมณปัจจัย กับอุปนิสสยปัจจัย มีวาระ ๔ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๔ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๘ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ [๑๒๐๔] ปัจจัย ๓ คือ อุปนิสสย อารัมมณ อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ปัจจัย ๕ คือ อุปนิสสย อนันตร สมนันตร นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ปัจจัย ๖ คือ อุปนิสสย อนันตร สมนันตร อาเสวน นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๒ คือ อุปนิสสย กัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ปัจจัย ๖ คือ อุปนิสสย อนันตร สมนันตร กัมม นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
อาเสวนมูลกนัย
[๑๒๐๕] ในอนันตรปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มีวาระ ๓ ในสมนันตรปัจจัย กับอนันตรปัจจัย มีวาระ ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ปัจจัย ๖ คือ อาเสวน อนันตร สมนันตร อุปนิสสย นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
กัมมมูลกนัย
[๑๒๐๖] ในอนันตรปัจจัย กับกัมมปัจจัย มีวาระ ๒ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๘ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๒๐๗] ปัจจัย ๒ คือ กัมม อุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ปัจจัย ๖ คือ กัมม อนันตร สมนันตร อุปนิสสย นัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๘ คือ กัมม สหชาต อัญญมัญญ นิสสย อาหาร สัมปยุตต อัตถิ อวิคต- *ปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๙ คือ กัมม สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อาหาร สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
วิปากมูลกนัย
[๑๒๐๘] ในเหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มีวาระ ๒ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ปัจจัย ๗ คือ วิปาก สหชาต อัญญมัญญ นิสสย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
อาหารมูลกนัย
[๑๒๐๙] ในอธิปติปัจจัย กับอาหารปัจจัย มีวาระ ๓ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๒๑๐] ปัจจัย ๗ คือ อาหาร สหชาต อัญญมัญญ นิสสย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๘ คือ อาหาร สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๘ คือ อาหาร สหชาต อัญญมัญญ นิสสย กัมม สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๙ คือ อาหาร สหชาต อัญญมัญญ นิสสย กัมม วิปาก สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๘ คือ อาหาร สหชาต อัญญมัญญ นิสสย อินทริย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๘ คือ อาหาร สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อินทริย สัมปยุตต อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๙ คือ อาหาร อธิปติ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย อินทริย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๑๐ คือ อาหาร อธิปติ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อินทริย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
อินทริยมูลกนัย
[๑๒๑๑] ในเหตุปัจจัย กับอินทริยปัจจัย มีวาระ ๒ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๒๑๒] ปัจจัย ๗ คือ อินทริย สหชาต อัญญมัญญ นิสสย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๘ คือ อินทริย สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๘ คือ อินทริย สหชาต อัญญมัญญ นิสสย มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๙ คือ อินทริย สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๘ คือ อินทริย สหชาต อัญญมัญญ นิสสย ฌาน สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๙ คือ อินทริย สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก ฌาน สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๙ คือ อินทริย สหชาต อัญญมัญญ นิสสย ฌาน มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๑๐ คือ อินทริย สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก ฌาน มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๘ คือ อินทริย สหชาต อัญญมัญญ นิสสย อาหาร สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๙ คือ อินทริย สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อาหาร สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๙ คือ อินทริย อธิปติ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย อาหาร สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๙ คือ อินทริย อธิปติ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อาหาร สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๙ คือ อินทริย อธิปติ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๑๐ คือ อินทริย อธิปติ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๙ คือ อินทริย เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๑๐ คือ อินทริย เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๑๐ คือ อินทริย เหตุ อธิปติ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๑๑ คือ อินทริย เหตุ อธิปติ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
ฌานมูลกนัย
[๑๒๑๓] ในสหชาตปัจจัย กับฌานปัจจัย มีวาระ ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๒๑๔] ปัจจัย ๗ คือ ฌาน สหชาต อัญญมัญญ นิสสย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๘ คือ ฌาน สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๘ คือ ฌาน สหชาต อัญญมัญญ นิสสย อินทริย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๙ คือ ฌาน สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อินทริย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๘ คือ ฌาน สหชาต อัญญมัญญ นิสสย มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๙ คือ ฌาน สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๙ คือ ฌาน สหชาต อัญญมัญญ นิสสย อินทริย มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๑๐ คือ ฌาน สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อินทริย มัคค สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
มัคคมูลกนัย
[๑๒๑๕] ในเหตุปัจจัย กับมัคคปัจจัย มีวาระ ๒ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๒๑๖] ปัจจัย ๗ คือ มัคค สหชาต อัญญมัญญ นิสสย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๘ คือ มัคค สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๘ คือ มัคค สหชาต อัญญมัญญ นิสสย อินทริย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๙ คือ มัคค สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อินทริย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๘ คือ มัคค สหชาต อัญญมัญญ นิสสย ฌาน สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๙ คือ มัคค สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก ฌาน สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๙ คือ มัคค สหชาต อัญญมัญญ นิสสย อินทริย ฌาน สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๑๐ คือ มัคค สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อินทริย ฌาน สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๙ คือ มัคค อธิปติ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย อินทริย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๑๑ คือ มัคค อธิปติ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อินทริย ฌาน สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๙ คือ มัคค เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย อินทริย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๑๐ คือ มัคค เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อินทริย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๑๐ คือ มัคค เหตุ อธิปติ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย อินทริย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๑๑ คือ มัคค เหตุ อธิปติ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อินทริย สัมปยุตต อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ
สัมปยุตตมูลกนัย
[๑๒๑๗] ในเหตุปัจจัย กับสัมปยุตตปัจจัย มีวาระ ๓ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๒๑๘] ปัจจัย ๖ คือ สัมปยุตต สหชาต อัญญมัญญ นิสสย อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๗ คือ สัมปยุตต สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย อวิคตปัจจัย
อนุโลมแห่งปัญหาวาร จบ
[๑๒๑๙] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนา โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดย อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยกัมมปัจจัย [๑๒๒๐] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกข- *เวทนา โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดย กัมมปัจจัย [๑๒๒๑] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนา โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยกัมมปัจจัย [๑๒๒๒] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วย ทุกขเวทนา โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย [๑๒๒๓] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วย สุขเวทนา โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย [๑๒๒๔] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนา โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย [๑๒๒๕] ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุต ด้วยอทุกขมสุขเวทนา โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็น ปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยกัมมปัจจัย [๑๒๒๖] ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุต ด้วยสุขเวทนา โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยกัมมปัจจัย [๑๒๒๗] ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุต ด้วยทุกขเวทนา โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยกัมมปัจจัย [๑๒๒๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙ " อธิปติปัจจัย มี " ๙ " อนันตรปัจจัย มี " ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มีวาระ ๙ " สหชาตปัจจัย มี " ๙ " อัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ " นิสสยปัจจัย มี " ๙ " อุปนิสสยปัจจัย มี " ๙ " ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙ " ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙ " อาเสวนปัจจัย มี " ๙ " กัมมปัจจัย มี " ๙ " วิปากปัจจัย มี " ๙ " อาหารปัจจัย มี " ๙ " อินทริยปัจจัย มี " ๙ " ฌานปัจจัย มี " ๙ " มัคคปัจจัย มี " ๙ " สัมปยุตตปัจจัย มี " ๙ " วิปปยุตตปัจจัย มี " ๙ " อัตถิปัจจัย มี " ๙ " นัตถิปัจจัย มี " ๙ " วิคตปัจจัย มี " ๙ " อวิคตปัจจัย มี " ๙ [๑๒๒๙] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๙ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณ- *ปัจจัย มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๘ ฯลฯ " อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๙ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย ฯลฯ กับปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาต- *ปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มีวาระ ๘
นเหตุมูลกนัย จบ
แม้ในเวทนาติกะนี้ ผู้มีปัญญาพึงจำแนกเป็นมูลกนัยทั้งหมดเหมือนนับจำนวนแห่ง ปัจจนียะ แห่งกุสลัลติกะ
ปัจจนียะ จบ
[๑๒๓๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ " อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " อินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ " วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับสหชาตปัจจัย กับอัญญมัญญปัจจัย กับนิสสยปัจจัย กับสัมปยุตตปัจจัย กับอัตถิปัจจัย กับอวิคตปัจจัย มีวาระ ๓ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ การนับจำนวนอนุโลมปัจจนียะ แห่งกุสลัตติกะ นับโดยวิธีสาธยายฉันใด แม้เวทนา- *ติกะนี้ ก็พึงนับฉันนั้น ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับกัมมปัจจัย มีวาระ ๘ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๘ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับกัมมปัจจัย มีวาระ ๘
การนับจำนวนอนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๒๓๑] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๕ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๘ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๒๓๒] ในอธิปติปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๓ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับ- *ปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มีวาระ ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๘ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๒๓๓] ในอุปนิสสยปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณ- *ปัจจัย ฯลฯ กับปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย มีวาระ ๙ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๘ ในกัมมปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย ฯลฯ กับ ปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย กับ ปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับปัจจัย ที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย กับปัจจัย ที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มีวาระ ๘
นเหตุมูลกนัย จบ
[๑๒๓๔] ในเหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๓ ฯลฯ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๘ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๒๓๕] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มีวาระ ๙ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๔ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๘ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ [๑๒๓๖] ในอนันตรปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมปปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๘ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ [๑๒๓๗] ในกัมมปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่สหชาตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่นิสสยปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย กับปัจจัย ที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับปัจจัย ที่ไม่ใช่อัตถิปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มีวาระ ๘ การนับจำนวนปัจจนียานุโลม แห่งกุสลัตติกะ นับโดยวิธีสาธยาย ฉันใด เวทนาติกะนี้ ก็พึงนับฉันนั้น
ปัจจนียานุโลม จบ
เวทนาติกะ ซึ่งเป็นติกะที่ ๒ จบ
วิปากติกะ
ปฏิจจวาร
[๑๒๓๘] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปาก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปาก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิปากขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิปากขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฎัตตารูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฎัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๓๙] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๔๐] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ วิปากขันธ์ อาศัยหทัยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ วิปากขันธ์ อาศัยหทัยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยมหา- *ภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๔๑] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากและหทัยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิปากขันธ์และมหาภูตรูป เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฎัตตารูป อาศัยวิปากขันธ์และมหาภูตรูป เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก- *นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัย- *ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น กฎัตตารูปอาศัยวิปากขันธ์ และมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๔๒] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปาก- *นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๔๓] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๔๔] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๔๕] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๑๒๔๖] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม- *เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ เกิดขึ้น [๑๒๔๗] วิปากธรรมอาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์ เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะ- *อธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น มี ๓ นัย [๑๒๔๘] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น จิตต- *สมุฏฐานรูป กฎัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๔๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปาก- *ธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๕๐] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปาก- *นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๕๑] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะ อนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะ สมนันตรปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เพราะ สหชาตปัจจัย สหชาต- *ปัจจัยทั้งหมด เหมือนเหตุปัจจัย [๑๒๕๒] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย คือ พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ นี้เป็นข้อแตกต่างกันในสหชาตปัจจัย [๑๒๕๓] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญ- *ปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยวิบากขันธ์ เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะ- *อัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๕๔] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๕๕] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม มหาภูตรูป ๓ อาศัย- *มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญ- *ปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ วิปากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๑๒๕๖] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๑๒๕๗] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะนิสสยปัจจัย ฯลฯ เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย [๑๒๕๘] วิปากธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๕๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๖๐] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย ฯลฯ เพราะวิปากปัจจัย มี ๓ นัย [๑๒๖๑] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป กฎัตตารูป ที่เป็น อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กฎัตตารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๖๒] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย [๑๒๖๓] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย ฯลฯ เพราะอินทริยปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย [๑๒๖๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๕ ในอธิปติปัจจัย มี " ๙ ในอนันตรปัจจัย มี " ๕ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๕ ในสหชาตปัจจัย มี " ๑๓ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๗ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๕ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒ ในกัมมปัจจัย มี " ๑๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๑๓ ในอินทริยปัจจัย มีวาระ ๑๓ ในฌานปัจจัย มี " ๑๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๑๓ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๑๓ ในอัตถิปัจจัย มี " ๑๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๕ ในวิคตปัจจัย มี " ๕ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๓ [๑๒๖๕] ในเหตุปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑๓
พึงนับเหมือนจำนวนกุสลัตติกะ
[๑๒๖๖] ในเหตุปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มีวาระ ๒ ในอารัมมณปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ [๑๒๖๗] ในเหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มีวาระ ๙ ในอารัมมณปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๖ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
จำนวนอนุโลม จบ
[๑๒๖๘] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัย ขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกวิบาก เกิดขึ้น ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฎัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์ เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๖๙] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุ ปัจจัย คือ โมหะที่สหรคด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย- *วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น [๑๒๗๐] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น กฏัตตารูป ที่เป็น อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัย มหาภูตรูป เกิดขึ้น วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัย มหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๗๑] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกวิบาก และมหาภูตรูป เกิดขึ้น ใน อเหตุกปฏิสนธิขณะ กฎัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์ และมหาภูตรูป เกิดขึ้น วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม และเนว- *วิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และมหา- *ภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๗๒] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัย วิบากขันธ์ เกิดขึ้น [๑๒๗๓] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น [๑๒๗๔] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น มหาภูต- *รูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัย มหาภูตรูป เกิดขึ้น พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๗๕] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม และเนววิปากน- *วิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูป เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๗๖] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม และเนววิปากน- *วิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๗๗] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอธิปติปัจจัย ย่อเหมือนสหชาตปัจจัย ที่เป็นอนุโลม [๑๒๗๘] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะอนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะสมนันตรปัจจัย ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ กฎัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น นี้เป็นความต่างกันสำหรับธรรมที่เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอัญญมัญญปัจจัย ไม่ใช่เพราะ อุปนิสสยปัจจัย [๑๒๗๙] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาต- *ปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๘๐] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ ปุเรชาตปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น [๑๒๘๑] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น พาหิรรูป จิตตสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ- *ปุเรชาตปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทัยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทัยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยมหา- *ภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๘๒] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูป เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูป เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนว- *วิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่วิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยวิบากขันธ์ และมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๘๓] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปาก- *นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ไม่ใช่เพราะอาเสวนปัจจัย วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น [๑๒๘๔] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม เกิดขึ้น พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๘๕] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ- *วิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ- *วิปากปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๘๖] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น กฎัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๘๗] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปาก- *นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปากปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๘๘] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอาหารปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๘๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอินทริยปัจจัย คือ พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูต- *รูป ๑ เกิดขึ้น สำหรับพวกอสัญญสัตว์ รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๙๐] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๙๑] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะฌานปัจจัย คือ พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ [๑๒๙๒] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะมัคคปัจจัย คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกวิบาก เกิดขึ้น มี ๓ นัย [๑๒๙๓] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะมัคคปัจจัย คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น มี ๓ นัย [๑๒๙๔] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะมัคคปัจจัย คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น มี ๓ นัย [๑๒๙๕] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่- *เพราะสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ นัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ- *สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ นัย อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น มี ๑ นัย [๑๒๙๖] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๙๗] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ- *วิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๒๙๘] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะวิปปยุตตปัจจัย คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตสมุฏฐานรูป ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๒๙๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่- *เพราะนัตถิปัจจัย ไม่ใช่เพราะวิคตปัจจัย [๑๓๐๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑๐ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๕ " อธิปติปัจจัย มี " ๑๓ " อนันตรปัจจัย มี " ๕ " สมนันตรปัจจัย มี " ๕ " อัญญมัญญปัจจัย มี " ๕ " อุปนิสสยปัจจัย มี " ๕ " ปุเรชาตปัจจัย มี " ๑๒ " ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑๓ " อาเสวนปัจจัย มี " ๑๓ " กัมมปัจจัย มี " ๒ " วิปากปัจจัย มี " ๕ " อาหารปัจจัย มี " ๑ " อินทริยปัจจัย มี " ๑ " ฌานปัจจัย มี " ๒ " มัคคปัจจัย มี " ๙ " สัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ " วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ " นัตถิปัจจัย มี " ๕ " วิคตปัจจัย มี " ๕ [๑๓๐๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑๐ " อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ " อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ " ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ " อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ " กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ " วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ " อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ " อินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑ " ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ " มัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ " สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ " นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๓๐๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัย- *ที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ " สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
นเหตุมูลกนัย จบ
แม้ในวิปากติกะนี้ พึงนับเหมือนที่นับไว้แล้ว โดยวิธีสาธยายในกุสลัตติกะ
ปัจจนียะ จบ
[๑๓๐๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑๓ " อนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ " สมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ " อัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ " อุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ " ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๒ " ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓ " อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๓ " กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ " วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ " สัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ " วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " นัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ " วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ [๑๓๐๔] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๕ " ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ " อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ " กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ " วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ " วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๓๐๕] ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย กับ- *อธิปติปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ " อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ " กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ " วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ " วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๓๐๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย กับอารัมมณปัจจัย กับอธิปติปัจจัย กับอนันตรปัจจัย ฯลฯ กับปุเรชาตปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ " กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ " วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ฯลฯ พึงนับเหมือนนับจำนวนอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลัตติกะ
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๓๐๗] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๕ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ ในอุปนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในปุเรชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๒ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑๐ ในนัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๐ [๑๓๐๘] ในสหชาตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ [๑๓๐๙] ในสหชาตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณ- *ปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตร- *ปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มีวาระ ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ ในฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ฯลฯ พึงนับเหมือนที่นับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุมูลกนัย ในกุสลัตติกะ พึงแจกวิปากติกะให้พิสดาร เหมือนที่แจกปัจจนียานุโลมปัฏฐาน ในกุสลัตติกะ
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
สหชาตวาร
[๑๓๑๐] วิปากธรรม เกิดร่วมกับวิปากธรรม เกิดขึ้นได้ เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ เกิดร่วมกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ เกิดร่วมกับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ เกิดร่วมกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ฯลฯ ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๓ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๑๐ " วิคตปัจจัย มี " ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ " วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑๓
สหชาตวาร จบ
ปัจจยวาร
[๑๓๑๑] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัย วิบากขันธ์ เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะ เหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๓๑๒] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น วิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๓๑๓] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย มหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๓๑๔] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากขันธ์และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและ หทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูป เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูป เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก- *นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูป เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากขันธ์และหทยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และ มหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๓๑๕] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและ มหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๓๑๖] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๓๑๗] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๓๑๘] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น โสตวิญญาณ อาศัยโสตายตนะ เกิดขึ้น ฆานวิญญาณ อาศัยฆานายตนะ เกิดขึ้น ชิวหาวิญญาณ อาศัยชิวหายตนะ เกิดขึ้น กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ เกิดขึ้น วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ ปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๑๓๑๙] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และจักขายตนะ เกิดขึ้น โสตายตนะ ฯลฯ ฆานายตนะ ฯลฯ ชิวหาย- *ตนะ ฯลฯ กายายตนะ เกิดขึ้น ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากขันธ์และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น วิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๑๓๒๐] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๑๓๒๑] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น มี ๓ นัย อธิปติปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ไม่มี อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ นัย [๑๓๒๒] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๑๓๒๓] วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะ อธิปติปัจจัย คือ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย มหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๓๒๔] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูป เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก- *นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๓๒๕] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและ มหาภูตรูป เกิดขึ้น [๑๓๒๖] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เหมือนอารัมมณปัจจัย [๑๓๒๗] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย เพราะ อัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยวิบากขันธ์ เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๓๒๘] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๓๒๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ เกิดขึ้น วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญ- *ปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๑๓๓๐] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และจักขายตนะ เกิดขึ้น โสตายตนะ ฯลฯ ฆานายตนะ ฯลฯ ชิวหาย- *ตนะ ฯลฯ กายายตนะ เกิดขึ้น ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น วิบากและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๑๓๓๑] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๑๓๓๒] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะนิสสยปัจจัย เหมือนสหชาตปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย เหมือนอนันตรปัจจัย ฯลฯ [๑๓๓๓] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวน- *ปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น [๑๓๓๔] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวน- *ปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๑๓๓๕] วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น [๑๓๓๖] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนสหชาตปัจจัย [๑๓๓๗] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย มี ๓ นัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย คือ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น วิบากและธรรมทั้ง ๒ มี ๓ นัย วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น มี ๓ นัย เพราะอาหารปัจจัย อินทริยปัจจัย ฌานปัจจัย มัคคปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย อวิคตปัจจัย [๑๓๓๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๗ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๗ ในอธิปติปัจจัย มี " ๑๗ ในอนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย มี " ๑๗ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑๗ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๗ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๗ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๔ ในกัมมปัจจัย มี " ๑๗ ในวิปากปัจจัย มี " ๙ ในอาหารปัจจัย มี " ๑๗ ในอินทริยปัจจัย มี " ๑๗ ในฌานปัจจัย มี " ๑๗ ในมัคคปัจจัย มี " ๑๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๗ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๑๗ ในอัตถิปัจจัย มี " ๑๗ ในนัตถิปัจจัย มี " ๗ ในวิคตปัจจัย มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย มี " ๑๗ [๑๓๓๙] ในอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑๗ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๗ ในกุสลัตติกะ นับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น
อนุโลมปัฏฐาน จบ
[๑๓๔๐] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น มี ๓ นัย วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุ- *ปัจจัย คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ เหตุปัจจัย คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ วิบากขันธ์ ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย มหาภูตรูป เกิดขึ้น ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่ เพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยวิปาก ธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและหทยวัตถุ เกิดขึ้น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะอารัมมณ- *ปัจจัย ฯลฯ พึงแจกให้พิสดาร ทุกบท [๑๓๔๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑๒ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๕ " อธิปติปัจจัย มี " ๑๗ " อนันตรปัจจัย มี " ๕ " สมนันตรปัจจัย มี " ๕ " อัญญมัญญปัจจัย มี " ๕ " อุปนิสสยปัจจัย มี " ๕ " ปุเรชาตปัจจัย มี " ๑๒ " ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑๗ " อาเสวนปัจจัย มี " ๑๗ " กัมมปัจจัย มี " ๔ " วิปากปัจจัย มี " ๙ " อาหารปัจจัย มี " ๑ " อินทริยปัจจัย มี " ๑ " ฌานปัจจัย มี " ๔ " มัคคปัจจัย มี " ๙ " สัมปยุตตปัจจัย มี " ๕ " วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ " นัตถิปัจจัย มี " ๕ " วิคตปัจจัย มี " ๕ [๑๓๔๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑๒ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓ พึงนับเหมือนจำนวนปัจจนียปัฏฐาน ในกุสลัตติกะ
ปัจจนียะ จบ
[๑๓๔๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๕ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๑๗ ฯลฯ " วิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๕ พึงนับเหมือนจำนวนอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลัตติกะ
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๓๔๔] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในสมนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๒ ในสหชาตปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มีวาระ ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๒ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ พึงนับเหมือนจำนวนปัจจนียานุโลม ในกุสลัตติกะ
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาร จบ
นิสสยวาร
[๑๓๔๕] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น [๑๓๔๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๗ ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มี " ๑๒ " วิคตปัจจัย มี " ๕ " อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี " ๕ " วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๑๒
นิสสยวาร จบ
สังสัฏฐวาร
[๑๓๔๗] วิปากธรรม คลุกเคล้ากับวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ฯลฯ ทุกบท พึงแจกให้พิสดาร [๑๓๔๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๓ ในอธิปติปัจจัย มี " ๓ ในอนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๓ ในสหชาตปัจจัย มี " ๓ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๓ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒ ในกัมมปัจจัย มี " ๓ ในวิปากปัจจัย มี " ๑ ในอาหารปัจจัย มี " ๓ ในอินทริยปัจจัย มี " ๓ ในฌานปัจจัย มี " ๓ ในมัคคปัจจัย มี " ๓ ในสัมปยุตตปัจจัย มีวาระ ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย มี " ๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๓ ในวิคตปัจจัย มี " ๓ ในอวิคตปัจจัย มี " ๓
พึงนับจำนวนเหมือนจำนวน ในกุสลัตติกะ
อนุโลม จบ
[๑๓๔๙] วิปากธรรม คลุกเคล้ากับวิปากธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น พึงแจกทุกบท [๑๓๕๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มีวาระ ๓ " ปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ " ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ " อาเสวนปัจจัย มี " ๓ " กัมมปัจจัย มี " ๒ " วิปากปัจจัย มี " ๒ " ฌานปัจจัย มี " ๑ " มัคคปัจจัย มี " ๒ " วิปปยุตตปัจจัย มี " ๓
พึงนับเหมือนจำนวนปัจจนียะ ในกุสลัตติกะ
ปัจจนียะ จบ
[๑๓๕๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ฯลฯ ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓
พึงนับเหมือนจำนวนอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลัตติกะ
อนุโลมปัจจนียะ จบ
[๑๓๕๒] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๓
พึงนับเหมือนจำนวนปัจจนียานุโลม ในกุสลัตติกะ
ปัจจนียานุโลม จบ
สังสัฏฐวาร จบ
สัมปยุตตวาร
[๑๓๕๓] วิปากธรรม สัมปยุตกับวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากขันธ์ เกิดขึ้น ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๓ ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๓
สัมปยุตตวาร จบ
ปัญหาวาร
[๑๓๕๔] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิปาก เหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยเหตุปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยเหตุปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย เหตุปัจจัย คือ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป โดยเหตุปัจจัย [๑๓๕๕] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยเหตุปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย วิปากธัมมธรรมเป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป โดย เหตุปัจจัย [๑๓๕๖] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย [๑๓๕๗] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาเห็นวิบากขันธ์ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภวิบากขันธ์นั้น มีราคะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศล อกุศลดับแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระเสกขบุคคล พิจารณาผล พิจารณาเห็นวิบากขันธ์ โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภวิบากขันธ์นั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยวิปากจิต โดยเจโตปริยญาณ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปค- *ญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอรหันต์ พิจารณาผล พิจารณาเห็นวิบาก โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยวิปากจิต โดยเจโตปริยญาณ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตัง- *สญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๓๕๘] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ แล้วพิจารณากุศลนั้น พิจารณากุศล ที่เคยสั่งสมไว้ในกาลก่อน ออกจากฌาน พิจารณาฌาน พระเสกขบุคคลพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน พระเสกขบุคคลออกจากมรรค พิจารณามรรค พระเสกขบุคคลพิจารณากิเลส ที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็น วิปากธัมมธรรม โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วย- *วิปากธัมมธรรม โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกุศล โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกุศล โดยอารัมมณ- *ปัจจัย ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพ- *นิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศล อกุศลดับแล้ว ตทารัมมณจิต อันเป็นวิบาก เกิดขึ้น อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก โดยอารัมมณ- *ปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณ ปัจจัย คือ พระอรหันต์ออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณากุศล ธรรมที่เคยสั่งสมไว้ แล้วในกาลก่อน พระอรหันต์พิจารณากิเลสที่ละแล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน พิจารณา- *เห็นขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มี- *ความพร้อมเพรียงด้วยวิปากธัมมธรรม โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกิริยา โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๓๕๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอรหันต์พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย พระอรหันต์พิจารณาเห็นจักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกิริยา โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ อากิญจัญญายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดย- *อารัมมณปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผล โดยอารัมมณปัจจัย พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณา- *เห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เพราะปรารภจักษุนั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศล และอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก เกิดขึ้น รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักษุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอารัมมณปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอารัมมณ- *ปัจจัย คือ พระเสกขะ พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค โดยอารัมมณปัจจัย พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ฯลฯ มีโทมนัส เกิดขึ้น พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปาก- *ธัมมธรรม โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เห็นรูป- *ด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยเนววิปาก- *นวิปากธัมมธรรม โดยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๓๖๐] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่- *สัมปยุตตขันธ์ โดยอธิปติปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่พระเสกขะ กระทำผลให้เป็นอารมณ์- *อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณากระทำวิบากขันธ์ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำผลและวิบากนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น มีราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ฯลฯ วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่าง- *หนักแน่น แล้วพิจารณา ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย [๑๓๖๑] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ แล้ว กระทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา กระทำกุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็น- *อารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา พระเสกขะกระทำโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา กระทำโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา พระเสกขะออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา กระทำขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น มีราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ โดยอธิปติปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์ออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่- *จิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็น- *ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย [๑๓๖๒] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่าง- *หนักแน่น แล้วพิจารณา ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็น- *ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผล โดยอธิปติปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระเสกขะกระทำนิพพานให้เป็น- *อารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค โดยอธิปติปัจจัย พระเสกขะกระทำจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น มีราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ฯลฯ โสตะ ฯลฯ กระทำขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะทำโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น มีราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ฯลฯ [๑๓๖๓] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ วิบากขันธ์ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ปัญจวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบาก โดยอนันตรปัจจัย มโนธาตุที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบาก โดยอนันตรปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ วิภังคจิต เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต โดยอนันตรปัจจัย มโนวิญญาณธาตุที่เป็น- *วิบาก เป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นกิริยา โดยอนันตรปัจจัย [๑๓๖๔] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยวิปากธัมมธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู โดยอนันตรปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน โดยอนันตรปัจจัย โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอนันตรปัจจัย โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอนันตรปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมของพระเสกขะ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลของพระอริยบุคคล ผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล- *สมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย [๑๓๖๕] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม ธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น- *เนววิปากนวิปากธัมมธรรมที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมของพระอรหันต์ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาของพระอรหันต์ ผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล สมาบัติ โดยอนันตรปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๓๖๖] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยสมนันตรปัจจัย เหมือนอนันตรปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยสหชาตปัจจัย ฯลฯ มี ๓ นัย [๑๓๖๗] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยสหชาตปัจจัย มี ๓ นัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย สหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ มหาภูตรูป ฯลฯ พาหิรรูป อาหาร สมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ [๑๓๖๘] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยสหชาต- *ปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ โดยสหชาตปัจจัย [๑๓๖๙] วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดย สหชาตปัจจัย วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก- *ธัมมธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยสหชาตปัจจัย [๑๓๗๐] วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยสหชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดย สหชาตปัจจัย [๑๓๗๑] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ โดยอัญญมัญญปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย อัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ โดย อัญญมัญญปัจจัย [๑๓๗๒] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอัญญมัญญ ปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย อัญญมัญญปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ โดยอัญญมัญญปัจจัย [๑๓๗๓] วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก- *ธรรม โดยอัญญมัญญปัจจัย คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ มีวาระ ๗ [๑๓๗๔] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม มี ๓ นัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม คือ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยนิสสยปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็น ปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัย แก่วิบากขันธ์ เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม [๑๓๗๕] วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก- *ธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ และกายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก- *ธัมมธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิบาก และมหาภูตรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม และหทยวัตถุ วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปาก- *นวิปากธัมมธรรม โดยนิสสยปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดย นิสสยปัจจัย มีวาระ ๑๓ [๑๓๗๖] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ กายิกสุข เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผล สมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย กายิกทุกข์ เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย สมาบัติ เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข โดยอุปนิสสยปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยกายิกสุข ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยกายิกทุกข์ ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ ทำลายสงฆ์ กายิกสุข ฯลฯ กายิกทุกข์ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์ อาศัยกายิกสุข ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้นได้ เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว พิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา อาศัยกายิกทุกข์ ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว [๑๓๗๗] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธา ให้ทาน ฯลฯ ถือมานะ ทิฏฐิ อาศัยศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ให้ทาน ฯลฯ ถือมานะ ทิฏฐิ อาศัยราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ศีล ฯลฯ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรม แห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัย แก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็น ปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัย แก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ปฐมมรรค เป็นปัจจัย แก่ทุติยมรรค ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค โดย อุปนิสสยปัจจัย พระเสขบุคคลอาศัยมรรค ทำกุศลสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น ฯลฯ มรรค เป็นปัจจัย แก่อัตถปฏิสัมภิทาของพระเสขบุคคล ฯลฯ แก่ความเป็นผู้ฉลาดในฐานและอฐานะ โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย ปาณาติบาต เป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาต ฯลฯ แก่มิจฉาทิฏฐิ โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ มิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิ โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ พยาบาท เป็นปัจจัยแก่พยาบาท โดยอุปนิสสยปัจจัย มาตุฆาตกรรม เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ แก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ โดยอุปนิสสยปัจจัย นิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ แก่สังฆ- *เภทกรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ [๑๓๗๘] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธา ทำตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์ที่มีการแสวงหาเป็นมูล ฯลฯ อาศัยความปรารถนา ทำตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสย- *ปัจจัย กุศลและอกุศล เป็นปัจจัยแก่กรรมวิบาก โดยอุปนิสสยปัจจัย มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์อาศัยมรรค ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้ เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว พิจารณาเห็นสังขารโดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา แก่ธัมมปฏิสัมภิทา แก่นิรุตติปฏิสัมภิทา แก่ปฏิภาณ- *ปฏิสัมภิทา ของพระอรหันต์ แก่ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและอฐานะ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๓๗๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์อาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุ ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยโภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๓๘๐] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ พระอรหันต์เห็นจักษุ ฯลฯ กาย โดยความเป็น ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ เห็นรูป โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ ฯลฯ ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นเนววิปากนวิปาก ธัมมธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ โดย ความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุ นั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ตทารัมมณจิต ย่อมเกิดขึ้น รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ โดยปุเรชาตปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ เพราะปรารภจักษุนั้น มีราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดย ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ ที่เป็นวัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดย ปุเรชาตปัจจัย [๑๓๘๑] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยปัจฉาชาต- *ปัจจัย คือ วิบากขันธ์ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๓๘๒] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย ปัจฉาชาตปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย ปัจฉาชาตปัจจัย [๑๓๘๓] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดขึ้นก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม ที่เกิดขึ้นหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอาเสวนปัจจัย [๑๓๘๔] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอาเสวนปัจจัย [๑๓๘๕] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ วิปากเจตนาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิปาก- *เจตนา ฯลฯ วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยกัมมปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป โดยกัมมปัจจัย [๑๓๘๖] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยกัมมปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ วิบากขันธ์ โดยกัมมปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยกัมมปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นวิปากและกฏัตตารูป โดยกัมมปัจจัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย [๑๓๘๗] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก ธัมมธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย [๑๓๘๘] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยวิปากปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยวิปากปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย วิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ในปฏิสนธิ ขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป โดยวิปากปัจจัย วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารที่เป็นวิปาก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ มี ๓ นัย แม้ในปฏิสนธิขณะ พึงแจกให้ได้ ๓ นัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอาหารปัจจัย มี ๓ นัย [๑๓๘๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยอาหารปัจจัย กวฬิงราหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอาหารปัจจัย [๑๓๙๐] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอินทริยปัจจัย มี ๓ นัย ในปฏิสนธิขณะ ก็พึงแจก วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยอินทริยปัจจัย มี ๓ นัย [๑๓๙๑] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม- *ธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ อินทรีย์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยอินทริยปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอินทริยปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย กายินทรีย์ ฯลฯ [๑๓๙๒] วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก ธรรม โดยอินทริยปัจจัย คือ จักขุนทรีย์และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ โดย อินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์และกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ โดยอินทริย ปัจจัย [๑๓๙๓] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยฌานปัจจัย มี ๓ นัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย ฌานปัจจัย คือ องค์ฌานที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยฌานปัจจัย [๑๓๙๔] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยมัคคปัจจัย มี ๓ นัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย มัคคปัจจัย คือ องค์มรรคที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ จิตต- *สมุฏฐานรูป โดยมัคคปัจจัย [๑๓๙๕] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม โดยสัมปยุตตปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๓๙๖] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม โดยสัมปยุตตปัจจัย เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย สัมปยุตตปัจจัย คือ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยสัมปยุตตปัจจัย [๑๓๙๗] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนๆ โดย วิปปยุตตปัจจัย [๑๓๙๘] วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด ก่อนๆ โดยวิปปยุตตปัจจัย

             เนื้อความพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ บรรทัดที่ ๑๖๑๓๓-๑๗๙๕๔ หน้าที่ ๖๓๘-๗๑๒. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=16133&Z=17954&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=40&item=1199&items=569              อ่านโดยใช้เครื่องหมาย [เลขข้อ] เป็น เกณฑ์แบ่งข้อ :- http://84000.org/tipitaka/read/byitem_s.php?book=40&item=1199&items=569&mode=bracket              อ่านเทียบพระไตรปิฎกภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=40&item=1199&items=569              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีอักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_item_s.php?book=40&item=1199&items=569              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1199              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_40

อ่านหัวข้อแรกอ่านหัวข้อที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหัวข้อถัดไปอ่านหัวข้อสุดท้าย

บันทึก ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :