ปัจจยวาร
[๘๘] ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
เหมือนกับปฏิจจวาร.
ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต จิต อาศัยหทัยวัตถุ
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต หทัยวัตถุ อาศัยจิต จิต อาศัยหทัยวัตถุ
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายอาศัยจิต ขันธ์อันเป็นเจตสิก อาศัยหทัยวัตถุ ใน
ปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.
ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต จิตและสัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.
ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำ
ทั้ง ๒ นัย.
ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และ จิต จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และมหาภูตรูปทั้งหลาย จิตอาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก
และหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ นัย.
ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่
เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.
[๘๙] ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
มี ๓ นัย เหมือนปฏิจจวาร.
ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ จิตอาศัย
หทัยวัตถุ ปฏิสนธิ.
ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ อาศัยกายายตนะ ฯลฯ
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ
พึงทำทั้ง ๒ นัย.
ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขายตนะ อาศัย
กายายตนะ ฯลฯ จิตและสัปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิขณะ
มี ๑ นัย.
ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขุวิญญาณ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคต
ด้วยกายวิญญาณ ขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ มี ๒ นัย.
ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ
ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ จิตอาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเจตสิก และหทัยวัตถุ ปฏิสนธิ
มี ๑ นัย.
ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรม
ที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ
จักขายตนะ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และ
หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ มี ๑ นัย.
ฯลฯ
[๙๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙
ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
ในอธิปปัจจัย มีวาระ ๙
ในปัจจัยทั้งปวง มี " ๙
ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๙
ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙
ในอวิคตปัจจัย มี " ๙.
[๙๑] ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
คือ เจตสิกที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ. มีวาระ ๙ แม้ปัญจวิญญาณ พึงกระทำเหมือน
อารัมมณปัจจัย โมหะ มีในหัวข้อปัจจัย ๓ เท่านั้น หัวข้อปัจจัยทั้งปวง ผู้มีปัญญาพึงกระทำ
โดยปวัตติ และปฏิสนธิ.
[๙๒] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัย มี " ๑
ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย มี " ๙
ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๖
ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มีวาระ ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓.
[๙๓] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัยกับเหตุปัจจัย มี " ๓
ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
ฯลฯ
[๙๔] ในอารัมมณปัจจัย กับปัจจัย
ที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๙
ในอนันตรปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
ในปัจจัยทั้งปวง กับ ฯลฯ มี " ๙
ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓
ในอวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙.
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๓ บรรทัดที่ ๑๓๑๙-๑๔๑๗ หน้าที่ ๕๒-๕๖.
http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=1319&Z=1417&pagebreak=0
http://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=43&A=1319&pagebreak=0
ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2]
อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :-
http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=43&siri=9
พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :-
http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=43&A=965
The Pali Tipitaka in Roman :-
http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=43&A=965
สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓
http://84000.org/tipitaka/read/?index_43
บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖.
บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙.
บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐.
การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง.
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]
