ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๘ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
กัสสปสังยุตต์
๑. สันตุฏฐสูตร
[๔๖๒] พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่าน อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียก ภิกษุทั้งหลาย ... แล้วได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย กัสสปนี้เป็นผู้สันโดษด้วยจีวร ตามมีตามได้และเป็นผู้กล่าวสรรเสริญคุณแห่งความสันโดษด้วยจีวรตามมีตามได้ ไม่ถึงการแสวงหาอันไม่ควร เพราะเหตุแห่งจีวร ไม่ได้จีวร ก็ไม่สะดุ้ง ครั้นได้ จีวรแล้ว ก็ไม่ยินดี ไม่ติดใจ ไม่พัวพัน มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเครื่อง สลัดออก ย่อมใช้สอย ดูกรภิกษุทั้งหลาย กัสสปนี้เป็นผู้สันโดษด้วยบิณฑบาต ตามมีตามได้ และเป็นผู้กล่าวสรรเสริญคุณแห่งความสันโดษด้วยบิณฑบาตตามมี ตามได้ ไม่ถึงการแสวงหาอันไม่ควร เพราะเหตุแห่งบิณฑบาต ไม่ได้บิณฑบาต ก็ไม่สะดุ้ง ครั้นได้บิณฑบาตแล้ว ก็ไม่ยินดี ไม่ติดใจ ไม่พัวพัน มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเครื่องสลัดออก ย่อมบริโภค ดูกรภิกษุทั้งหลาย กัสสปนี้เป็นผู้สันโดษ ด้วยเสนาสนะตามมีตามได้ และเป็นผู้กล่าวสรรเสริญคุณแห่งความสันโดษด้วย เสนาสนะตามมีตามได้ ไม่ถึงการแสวงหาอันไม่ควร เพราะเหตุแห่งเสนาสนะ ไม่ได้เสนาสนะ ก็ไม่สะดุ้ง ครั้นได้เสนาสนะแล้ว ก็ไม่ยินดี ไม่ติดใจ ไม่ พัวพัน มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเครื่องสลัดออก ย่อมใช้สอย ดูกรภิกษุทั้งหลาย กัสสปนี้เป็นผู้สันโดษด้วยเภสัชบริขารซึ่งเป็นปัจจัยแห่งคนไข้ตามมีตามได้ และ เป็นผู้กล่าวสรรเสริญคุณแห่งความสันโดษด้วยเภสัชบริขาร ซึ่งเป็นปัจจัยแห่ง คนไข้ตามมีตามได้ ไม่ถึงการแสวงหาอันไม่ควร เพราะเหตุแห่งเภสัชบริขารซึ่ง เป็นปัจจัยแห่งคนไข้ ไม่ได้เภสัชบริขารซึ่งเป็นปัจจัยแห่งคนไข้ ก็ไม่สะดุ้ง ครั้นได้เภสัชบริขารซึ่งเป็นปัจจัยแห่งคนไข้แล้ว ก็ไม่ยินดี ไม่ติดใจ ไม่พัวพัน มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเครื่องสลัดออก ย่อมบริโภค ฯ

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖ บรรทัดที่ ๕๑๑๒-๕๑๓๔ หน้าที่ ๒๑๖. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=16&A=5112&Z=5134&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=16&siri=139              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=16&i=462              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [462] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=16&item=462&items=1              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=12&A=4044              The Pali Tipitaka in Roman :- [462] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=16&item=462&items=1              The Pali Atthakatha in Roman :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=12&A=4044              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๖ https://84000.org/tipitaka/read/?index_16              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://84000.org/tipitaka/english/metta.lk/16i462-e.php# https://accesstoinsight.org/tipitaka/sn/sn16/sn16.001.wlsh.html https://suttacentral.net/sn16.1/en/sujato https://suttacentral.net/sn16.1/en/bodhi

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :